กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า


“ โครงการเด็กปฐมวัยปลอดภัยโควิด ของโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้าสังกัด อบต.เกาะสะบ้า ”

ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวภัทรญา สรประสิทธิ์

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัยปลอดภัยโควิด ของโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้าสังกัด อบต.เกาะสะบ้า

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5188-2-06 เลขที่ข้อตกลง 11/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤษภาคม 2565 ถึง 12 ตุลาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปฐมวัยปลอดภัยโควิด ของโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้าสังกัด อบต.เกาะสะบ้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัยปลอดภัยโควิด ของโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้าสังกัด อบต.เกาะสะบ้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัยปลอดภัยโควิด ของโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้าสังกัด อบต.เกาะสะบ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5188-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤษภาคม 2565 - 12 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ที่มีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วใน หลายประเทศทั่วโลก เป็นโรคระบาดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic) ที่มีการติดเชื้อจากคนไปสู่คน โดยพบผู้ป่วยติดเชื้อยืนยันสะสมทั่วโลกจำนวนมาก เสียชีวิตจำนวนมาก สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 337,680 คน พบ (ข้อมูลจาก รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๔ (CCD-art) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๕๕๙ (COVID-๑9) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 11 กุมภาพันธ์ ๒๕65) หลายประเทศมีมาตรการในการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคด้วย การปิดเมืองปิดประเทศ หรือหยุดกิจการบางประเภท ส่งผลให้แรงงานชาวไทยหรือนักศึกษาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงทั้งในต่างประเทศและภายในประเทศมีการเดินทางกลับภูมิลำเนา จึงจำเป็นต้องมีการลงพื้นที่สำรวจ ค้นหากลุ่มเสี่ยง เพื่อประโยชน์ในการติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคที่เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ
COVID-1๙ ต่อไป มาตรการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-๑๙ นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกพล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วย เจลแอลกอฮอล์ สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี นั้น
ในการนี้ โรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้ามีนโยบายให้โรงเรียนเปิดเรียนแบบ on-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting โดยครูและบุคลากรในโรงเรียนต้องเข้ารับการฉีดวัคซีน-19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน onsite ด้วยชุด ATK เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) นั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเตรียมการ เสนอโครงการ
  2. กิจกรรมคัดกรองATKให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในสังงกัด
  3. ประเมินผลและติดตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87
กลุ่มวัยทำงาน 7
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19
2 นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน มีความปลอดภัยและมีภาวะเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) น้อยที่สุด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 94
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87
กลุ่มวัยทำงาน 7
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมการ เสนอโครงการ (2) กิจกรรมคัดกรองATKให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในสังงกัด (3) ประเมินผลและติดตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กปฐมวัยปลอดภัยโควิด ของโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้าสังกัด อบต.เกาะสะบ้า จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5188-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวภัทรญา สรประสิทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด