กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า


“ โครงการป้องกันความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19)ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้า ”

ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกฤศรดา พระไพรี

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19)ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้า

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5188-3-05 เลขที่ข้อตกลง 10/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19)ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19)ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19)ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5188-3-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤษภาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๘ (ฉบับที่ ๓๗ ลงวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๔ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒6๒ ง ลงวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๔) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕4๘ และมาตรา 1๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕34 นายกรัฐมนตรีจึงออกข้อกำหนดและข้อปฏิบัติแก่ส่วนราชการทั้งหลายตามคำแนะนำของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โครส - 19) (ศบค.) ข้อ 6 มาตรการควบคุมแบบบูรณาการจำแนกตามพื้นที่สถานการณ์ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดแล้วแต่กรณี กำกับดูแลและติดตามการดำเนินการของสถานที่ กิจการ หรือกิจกรรมในพื้นที่สถานการณ์ที่ได้ปรับมาตรการตามข้อกำหนดนี้ เพื่อให้เปิดดำเนินการได้ โดยให้ผู้ประกอบการหรือผู้มีหน้าที่รับผิดชอบจัดเตรียมสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID-Free Setting) ตามประเภทของกิจการ กิจกรรมตามระดับความเสี่ยงที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด จัดระบบหมุนเวียนระบายอากาศ กำกับดูแลความพร้อมของบุคลากรให้บริการ และปฏิบัติตามเงื่อนไข เงื่อนเวลา การจัดระบบ ระเบียบ และมาตรการป้องกันโรคต่าง ๆ ตามที่ทางราชการกำหนด รวมทั้งมาตรการที่ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบกำหนดขึ้นเป็นการเฉพาะ ตามข้อ ๖ (๒) พื้นที่ควบคุมสูงสุด (จังหวัดสงขลาถูกจำแนกตามพื้นที่สถานการณ์เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด) ตามข้อ ก. กำหนดไว้ว่า “โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาทุกประเภท ให้สามารถใช้อาคารหรือสถานที่เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ การฝึกอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมากได้ โดยพิจารณาความจำเป็นและการดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรคที่ทางราชการกำหนด ซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดแล้วแต่กรณี กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตของพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่จัดกิจกรรมและสถานการณ์ในพื้นที่รับผิดชอบ” ซึ่งคำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ที่ 3/๒๕๖5 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุม พื้นที่เฝ้าระวังสูง และพื้นที่นำร่องด้านการท่องเที่ยวตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕4๘ ลงวันที่ 24 มกราคม ๒๕๖5 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๓9 ตอนพิเศษ 16 ง ลงวันที่ 21 มกราคม ๒๕๖5) ได้กำหนดให้จังหวัดสงขลาเป็นพื้นที่สถานการณ์ “พื้นที่ควบคุม” จากจำนวนทั้งสิ้น 44 จังหวัด ดังนั้น เพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาดและการเพิ่มศักยภาพในการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้า ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามความในมาตรา 9แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕4๘ และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0816.4/ ว 5902 ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2564 รวมถึงการเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564นั้น
ในการนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้ามีนโยบายให้เปิดเรียนแบบ on-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอด Covid หรือ Covid fee setting มีกิจกรรมให้ครู และบุคลากรในสังกัดได้รับการฉีดวัคซีน covid-19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจเด็กนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเตรียมการ
  2. กิจกรรมคัดกรองATKให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในสังคม
  3. ประเมินผลและติดตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 29
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน ได้รับวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
  2. เด็กนักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน มีความปลอดภัยและมีภาวะเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 29
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมการ (2) กิจกรรมคัดกรองATKให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในสังคม (3) ประเมินผลและติดตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19)ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้า จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5188-3-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกฤศรดา พระไพรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด