กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) ”
ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายมงคล เครือแก้ว ตำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะใหญ่




ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation)

ที่อยู่ ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5163-5-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 เมษายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5163-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 เมษายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ระลอกใหม่ ได้กลายพันธุ์ พบว่ายังมีแนวโน้มทวีความรุ่นแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่รวมทั้งพื้นที่จังหวัดสงขลา และปัจจุบันการระบาดของ โควิด-19 โดยเฉพาะสายพันธุ์โอมิครอน (Omicron) ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวล ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขปกติจะรับไหว โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำนวนเตียงไม่เพียงพอสำหรับการรักษาตัวผู้ป่วย และเมื่อเกิดสถานการณ์ระบาดที่รุนแรง ผู้ติดเชื้อต้องรอคอยอยู่ที่บ้านและทำให้คนใกล้ชิดต้องติดเชื้อต่อๆและขยายเข้าสู่ชุมชนในวงกว้างมากขึ้น ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้มีมาตรการที่สำคัญในการควบคุมโรคโดยการค้นหาผู้ติดเชื้อดูแลรักษาแยกกักการกักตัวดูแลรักษาที่บ้าน ซึ่งผู้ป่วยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ อาการหนัก(สีแดง) อาการปานกลาง(สีเหลือง) และอาการไม่รุนแรง(สีเขียว) การจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวเพื่อเตรียมรองรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโรนา 2019 (โควิด-19) ในพื้นที่ที่มีอาการไม่รุนแรง (สีเขียว) โดยร่วมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชนในการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสงขลา ยังพบผู้ป่วยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกวัน เนื่องด้วยเกิดคลัสเตอร์ใหม่ ๆ เป็นระยะๆ ได้แก่ คลัสเตอร์งานศพคลัสเตอร์บิกซีคลัสเตอร์โรงงานคลัสเตอร์โรงเรียน เป็นต้นซึ่งจากการเกิดคลัสเตอร์ดังกล่าว ทำให้จำนวนผู้ป่วยในพื้นที่มีจำนวนมาก โรงพยาบาลที่มีอยู่ในพื้นที่หรือโรงพยาบาลสนามที่จัดตั้งขึ้น ไม่สามารถที่จะรองรับจำนวนผู้ป่วยดังกล่าวได้ ทำให้มีผู้ป่วยที่รอรับการส่งตัวไปรักษาตัวต่อ ต้องรอเตียงอยู่ที่บ้าน ส่งผลให้คนใกล้ชิดต้องเสี่ยงต่อการติดเชื้อหรือสัมผัสเชื้อจากภายในครอบครัว และขยายเข้าสู่ชุมชนในวงกว้างมากขึ้น ซึ่งจากการตรวจหาเชื้อจากผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในเชิงรุกด้วยชุดตรวจ ATK ในพื้นที่ตำบลเกาะใหญ่ ระหว่างวันที่ 14 - 26 กุมภาพันธ์ 2565 ตรวจพบผู้ติดเชื้อจำนวนมากสุงสุด จำนวน 48 รายต่อวัน ดังนั้น การพัฒนาระบบศูนย์แยกกักตัวเพื่อดูแลผู้ป่วยโควิดแก่คนในชุมชนด้วยการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) จึงเป็นทางออกเพื่อการรับมือสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ในพื้นที่
ประกอบกับคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ที่ 6/2565 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 เรื่อง จัดตั้งศูนย์แยกกักในชุมชน (Community Isolation) โดยให้มีการจัดตั้งศูนย์แยกกักในชุมชน (Community Isolation) ของตำบลเกาะใหญ่ ณ วัดเกาะใหญ่ เพื่อรองรับผู้ติดเชื้อด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ที่ไม่มีอาการ หรือมีอาการเล็กน้อย เพื่อเตรียมรองรับจำนวนผู้ป่วยในพื้นที่ที่คาดว่าจะมียอดผู้ป่วยเพิ่มขึ้นตลอดเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม 2565 (คาดการณ์ว่าเดือนเมษายน 2565 จะมียอดผู้ป่วยสูงสุด) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ที่ปัจจุบันนับวันจะทวีความรุนแรงและขยายไปในวงกว้างครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ของหมู่บ้านในตำบล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งศูนย์พักคอยเตียงเพื่อคนในชุมชน Community Isolation& Home Isolation

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับการคัดกรองด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น(Antigen -Test-Kit) และได้รับการดูแลรักษาผ่านโรงพยาบาลสนามเพื่อการพักคอยเตียง Community Isolation& Home Isolation


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19
95.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งศูนย์พักคอยเตียงเพื่อคนในชุมชน Community Isolation& Home Isolation

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5163-5-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมงคล เครือแก้ว ตำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด