ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L7258-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
บทคัดย่อ
โครงการ " ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L7258-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,000,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง อย่างรวดเร็วไปทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าว เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำ ของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโรคโควิด ๑๙ เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๕๘ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓ ได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคดังกล่าว จังหวัดสงขลา มีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อยืนยัน ณ เดือนธันวาคม ๒๕๖๔ สะสม จำนวน ๖๓,๔๗๘ บาท รักษาตัวในโรงพยาบาล ๓,๒๒๘ คน รักษาหายกลับบ้านแล้ว ๖๑,๗๕๘ คน เสียชีวิต ๒๘๓ คน (ข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคจังหวัดสงขลา) ซึ่งแนวโน้มของสถิติคาดว่าจะมีผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กระทรวงมหาดไทย (ศบค.มท.) โดยคำแนะนำจากกระทรวงสาธารณสุข จะใช้มาตรการป้องกันควบคุมโรคหลายมาตรการ เช่น การคัดกรองและเฝ้าระวัง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนเชิงรุก กักตัว ผู้มีความเสี่ยง การรักษาระยะห่างระว่างบุคคล สวมหน้ากากอนามัยอนามัยหรือหน้ากากผ้า ตรวจวัดอุณหภูมิ การใช้แอลกอฮอล์เจล สบู่ล้างมือ งดจัดกิจกรรมที่รวมกลุ่มคนจำนวนมาก ทำความสะอาดสถานที่ และพื้นผิวสัมผัสร่วม เป็นต้น
เนื่องจากพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่เป็นพื้นที่มีประชาชนอาศัยอยู่หนาแน่น อีกทั้งย่านธุรกิจการค้าการลงทุนและการท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดสงขลา มีตลาดจำหน่ายสินค้าที่มีชื่อเสียงสร้างรายได้ให้กับอำเภอหาดใหญ่ เช่น ตลาดกิมหยง ตลาดสันติสุข เป็นต้น จากสถานการณ์การแพร่ระบาตของโรคโควิด ๑๙ ส่งผลกระทบต่อสภาวะด้านเศรษฐกิจ ภาคธุรกิจและการท่องเที่ยว สภาพความเป็นอยู่ของประชาชน ประชาชนขาดรายได้ ว่างงาน ตกงาน ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากความเครียด ความวิตกกังวล จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อัตราผู้ติดเชื้อที่มีจำนวนมาก ส่งผลให้พบผู้สัมผัสใกล้ชิด หรือผู้ที่มีความเสี่ยงสูงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแพร่ระบาดและการติดเชื้อจากบุคคลในครอบครัว สถานที่ทำงาน ร้านอาหาร เป็นต้น การตรวจหาเชื้อโควิด ๑๙ จึงมีความจำเป็นอย่างสูงเพื่อช่วยลดการแพร่ระบาดออกไปในวงกว้างและสามารถควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ เดิมการตรวจหาเชื้อจะใช้วิธีการ แบบ Real-time PCR (Real Time Polymerase Chain Reaction) หรือเรียกสั้นๆ ว่า RT-PCR คือการตรวจหาเชื้อไวรัสโดยดูจากสารพันธุกรรม RNA ของไวรัสเป็นวิธีมาตรฐานสากล (Gold Standard) ใช้ตรวจหาเชื้อโควิด ๑๙ โดยตรง แต่มีความซับซ้อน และต้องส่งตรวจไปยังห้องปฏิบัติการเท่านั้น ซึ่งใช้เวลาอย่างน้อย ๒๔ ชั่วโมง ดังนั้นที่ประชุม EOC ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center) ของกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ จึงได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ Rapid Antigen Test ซึ่งจะช่วยให้หน่วยบริการสาธารณสุขสามารถค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่การระบาดได้อย่างรวดเร็วและเข้าถึงได้ง่าย ทำให้การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อสถานการณ์ ลดความรุนแรงของโรคและการเสียชีวิตของผู้ป่วยได้ ฝ่ายบริการสาธารณสุขสำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทั้งในทางตรงและทางอ้อม จึงได้จัดทำโครงการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เชิงรุกประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันระงับ ยับยั้ง กักกันกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อ รวมถึงการป้องกันการระบาดในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่ระบาดและเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster)
- 2. เพื่อสามารถแยกผู้ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยงออกจากผู้ไม่ติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว
- 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.การตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุกโดยวิธี rapid antigen test
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.การคัดกรองค้นหาบุคคลกลุ่มเสี่ยงและการตรวจหาเชื้อผู้ติดเชื้อเชิงรุกเป็นไปอย่างรวดเร็ว ครอบคลุม มีประสิทธิภาพ
2.มีการป้องกันการติดต่อแพร่ระบาดโดยติดตาม เฝ้าระวัง ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
3.ลดการแพร่ระบาดของโรคติดไวรัสโคโรนา 2019
4.ประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถป้องกันโรคติดเชื้อจากไวรัสโคโรนา 2019 ได้
5.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.การตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุกโดยวิธี rapid antigen test
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดทีมลงพื้นที่เพื่อติดตามและเฝ้าระวังในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยง
-จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา
-ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนผ่านโดยสื่อต่างๆ
-ดำเนินการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่การระบาดและเสี่ยงต่อการระบาดเป็นกลุ่มก้อน
-ดำเนินการจัดเตรียมสถานที่เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือสถานการณ์ค้นหากลุ่มเสี่ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การตรวจหาผู้ติดเชื้อเป็นไปอย่างรวดเร็วและสามารถป้องกันโรคติดเชื้อจากไวรัสโคโรนาได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่ระบาดและเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster)
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยง ได้รับผลการตรวจหาเชื้อและแยกประเภทได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม
2
2. เพื่อสามารถแยกผู้ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยงออกจากผู้ไม่ติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว
ตัวชี้วัด : 2. ลดความเสี่ยงของประชาขนในพื้นที่ต่อการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster)
3
3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 3. การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคมีประสิทธิภาพครอบคลุมทุกพื้นที่
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่ระบาดและเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster) (2) 2. เพื่อสามารถแยกผู้ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยงออกจากผู้ไม่ติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว (3) 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.การตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุกโดยวิธี rapid antigen test
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L7258-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L7258-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
บทคัดย่อ
โครงการ " ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L7258-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,000,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง อย่างรวดเร็วไปทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าว เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำ ของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโรคโควิด ๑๙ เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๕๘ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓ ได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคดังกล่าว จังหวัดสงขลา มีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อยืนยัน ณ เดือนธันวาคม ๒๕๖๔ สะสม จำนวน ๖๓,๔๗๘ บาท รักษาตัวในโรงพยาบาล ๓,๒๒๘ คน รักษาหายกลับบ้านแล้ว ๖๑,๗๕๘ คน เสียชีวิต ๒๘๓ คน (ข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคจังหวัดสงขลา) ซึ่งแนวโน้มของสถิติคาดว่าจะมีผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กระทรวงมหาดไทย (ศบค.มท.) โดยคำแนะนำจากกระทรวงสาธารณสุข จะใช้มาตรการป้องกันควบคุมโรคหลายมาตรการ เช่น การคัดกรองและเฝ้าระวัง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนเชิงรุก กักตัว ผู้มีความเสี่ยง การรักษาระยะห่างระว่างบุคคล สวมหน้ากากอนามัยอนามัยหรือหน้ากากผ้า ตรวจวัดอุณหภูมิ การใช้แอลกอฮอล์เจล สบู่ล้างมือ งดจัดกิจกรรมที่รวมกลุ่มคนจำนวนมาก ทำความสะอาดสถานที่ และพื้นผิวสัมผัสร่วม เป็นต้น เนื่องจากพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่เป็นพื้นที่มีประชาชนอาศัยอยู่หนาแน่น อีกทั้งย่านธุรกิจการค้าการลงทุนและการท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดสงขลา มีตลาดจำหน่ายสินค้าที่มีชื่อเสียงสร้างรายได้ให้กับอำเภอหาดใหญ่ เช่น ตลาดกิมหยง ตลาดสันติสุข เป็นต้น จากสถานการณ์การแพร่ระบาตของโรคโควิด ๑๙ ส่งผลกระทบต่อสภาวะด้านเศรษฐกิจ ภาคธุรกิจและการท่องเที่ยว สภาพความเป็นอยู่ของประชาชน ประชาชนขาดรายได้ ว่างงาน ตกงาน ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากความเครียด ความวิตกกังวล จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อัตราผู้ติดเชื้อที่มีจำนวนมาก ส่งผลให้พบผู้สัมผัสใกล้ชิด หรือผู้ที่มีความเสี่ยงสูงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแพร่ระบาดและการติดเชื้อจากบุคคลในครอบครัว สถานที่ทำงาน ร้านอาหาร เป็นต้น การตรวจหาเชื้อโควิด ๑๙ จึงมีความจำเป็นอย่างสูงเพื่อช่วยลดการแพร่ระบาดออกไปในวงกว้างและสามารถควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ เดิมการตรวจหาเชื้อจะใช้วิธีการ แบบ Real-time PCR (Real Time Polymerase Chain Reaction) หรือเรียกสั้นๆ ว่า RT-PCR คือการตรวจหาเชื้อไวรัสโดยดูจากสารพันธุกรรม RNA ของไวรัสเป็นวิธีมาตรฐานสากล (Gold Standard) ใช้ตรวจหาเชื้อโควิด ๑๙ โดยตรง แต่มีความซับซ้อน และต้องส่งตรวจไปยังห้องปฏิบัติการเท่านั้น ซึ่งใช้เวลาอย่างน้อย ๒๔ ชั่วโมง ดังนั้นที่ประชุม EOC ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center) ของกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ จึงได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ Rapid Antigen Test ซึ่งจะช่วยให้หน่วยบริการสาธารณสุขสามารถค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่การระบาดได้อย่างรวดเร็วและเข้าถึงได้ง่าย ทำให้การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อสถานการณ์ ลดความรุนแรงของโรคและการเสียชีวิตของผู้ป่วยได้ ฝ่ายบริการสาธารณสุขสำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทั้งในทางตรงและทางอ้อม จึงได้จัดทำโครงการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เชิงรุกประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันระงับ ยับยั้ง กักกันกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อ รวมถึงการป้องกันการระบาดในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่ระบาดและเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster)
- 2. เพื่อสามารถแยกผู้ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยงออกจากผู้ไม่ติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว
- 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.การตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุกโดยวิธี rapid antigen test
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.การคัดกรองค้นหาบุคคลกลุ่มเสี่ยงและการตรวจหาเชื้อผู้ติดเชื้อเชิงรุกเป็นไปอย่างรวดเร็ว ครอบคลุม มีประสิทธิภาพ 2.มีการป้องกันการติดต่อแพร่ระบาดโดยติดตาม เฝ้าระวัง ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค 3.ลดการแพร่ระบาดของโรคติดไวรัสโคโรนา 2019 4.ประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถป้องกันโรคติดเชื้อจากไวรัสโคโรนา 2019 ได้ 5.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.การตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุกโดยวิธี rapid antigen test |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดทีมลงพื้นที่เพื่อติดตามและเฝ้าระวังในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยง -จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา -ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนผ่านโดยสื่อต่างๆ -ดำเนินการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่การระบาดและเสี่ยงต่อการระบาดเป็นกลุ่มก้อน -ดำเนินการจัดเตรียมสถานที่เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือสถานการณ์ค้นหากลุ่มเสี่ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการตรวจหาผู้ติดเชื้อเป็นไปอย่างรวดเร็วและสามารถป้องกันโรคติดเชื้อจากไวรัสโคโรนาได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่ระบาดและเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster) ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยง ได้รับผลการตรวจหาเชื้อและแยกประเภทได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุม |
|
|||
2 | 2. เพื่อสามารถแยกผู้ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยงออกจากผู้ไม่ติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว ตัวชี้วัด : 2. ลดความเสี่ยงของประชาขนในพื้นที่ต่อการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster) |
|
|||
3 | 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 3. การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคมีประสิทธิภาพครอบคลุมทุกพื้นที่ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่ระบาดและเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster) (2) 2. เพื่อสามารถแยกผู้ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยงออกจากผู้ไม่ติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว (3) 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.การตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุกโดยวิธี rapid antigen test
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L7258-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......