กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง ”

ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาฏนธี ผิวเหลือง นางสากีน๊ะ พันหวัง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง

ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5286-02-04 เลขที่ข้อตกลง 8

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5286-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กในโรงเรียนทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะอยู่อาศัยในโรงเรียนน่าอยู่ได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับ ครู พนักงาน และเพื่อน ๆ อย่างสงบสุข มีความสะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม โรงเรียนที่มีการจัดการ ควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อ และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของโรงเรียน โดยมุ่งหวังให้เด็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทางกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเสริมสร้างสุขภาพ และครูได้รับการส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างมีความสุขกาย สบายใจ ครู ผู้ปกครอง และชุมชนมีบทบาทสำคัญยิ่งในการพัฒนาโรงเรียน เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้พฤติกรรมสุขภาพที่ดีและ ทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ผู้ปกครองและครูได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆ เพื่อให้สามารถ ดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครอง เข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรมโดยสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้าน และโรงเรียน โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง เห็นความสำคัญ การส่งเสริมการดำเนินการเตรียมความพร้อมตามมาตรการการป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน เนื่องด้วยปัจจุบัน โรคติดต่อสำคัญที่กระทรวงสาธารณสุขต้องป้องกันและควบคุมในโรงเรียน ได้แก่โรคมือ เท้า ปาก โรคโควิด-19 โรคไข้เลือดออก เป็นต้น ซึ่งโรคติดต่อเหล่านี้ สามารถติดต่อกันได้ทั้ง การหายใจเอาละอองอากาศที่มีเชื้อปนอยู่เข้าไป การไอหรือจามรดกัน และการใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกัน รวมทั้งการรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเข้าไป หากเด็กที่อยู่ใน โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อเหล่านี้ก็สามารถแพร่กระจายสู่กัน และแพร่กระจายสู่ชุมชนได้ง่าย ซึ่งจากการดำเนินงานโรงเรียนคุณภาพปลอดโรค ช่วยให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกายใจที่ดีลดอุบัติการณ์การเกิดโรค ดังนั้นโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลสทิงพระ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลสทิงพระ ประจำปีงบประมาณ 2562 ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง เพื่อให้เด็ก และครูที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัยและการรู้จักการดูแลสุขภาพร่างกายได้ด้วยตนเอง รวมถึงเป็นการส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรง และปลอดจากโรคต่างๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเด็กมีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค
  2. 2. เพื่อเด็กมีทักษะในการจัดสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง
  3. 3. เพื่อป้องกันโรคติดต่อด้วยการส่งเสริมให้เด็กนักเรียนล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด-19
  2. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรม รณรงค์ป้องกันโรคมือ เท้า ปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 124
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนและครูได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก

วันที่ 15 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • พิธีเปิดโครงการ โดย นายมุฮัมมัดสุกรี แหมถิ่น นายกองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน
  • บรรยายให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคเกี่ยวกับไข้เลือดออก โดย นางรสนา บินหมาน
  • บรรยายให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคเกี่ยวกับไข้เลือดออก
  • การใช้สารทาป้องกันยุงที่ถูกต้อง การใช้สารกำจัดยุงลายในแหล่งเพาะพันธ์ต่างๆ โดย นางอภิยา เหตุทอง
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • แบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
  • สรุปประเด็นหัวข้อบรรยายความรู้
  • เสร็จสิ้นการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-นักเรียนมีความรู้ในการใช้สารทาป้องกันและการใช้สารกำจัดยุงลายอย่างถูกต้องและถูกวิธี
-แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายน้อยลง

 

0 0

2. กิจกรรม รณรงค์ป้องกันโรคมือ เท้า ปาก

วันที่ 15 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • พิธีเปิดโครงการ โดย นายมุฮัมมัดสุกรี แหมถิ่น นายกองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน
  • บรรยายให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคติดต่อ โดย นางรสนา บินหมาน
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคติดต่อ โดย นางรสนา บินหมาน
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • บรรยายให้ความรู้ ด้านการส่งเสริมป้องกันโรคมือ เท้า ปาก การดูแลรักษาอย่างถูกวิธี โดย นางอภิยา เหตุทอง
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายให้ความรู้ ด้านการส่งเสริมป้องกันโรคมือ เท้า ปาก การดูแลรักษาอย่างถูกวิธี โดย นางอภิยา เหตุทอง
  • แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมการป้องกันโรคติดต่อ
  • สรุปประเด็นหัวข้อบรรยายความรู้ และหัวข้อการทำกิจกรรม
  • เสร็จสิ้นการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-โรคมือ เท้า ปากในโรงเรียนลดลง
-นักเรียนมีความรู้ในการดูแลและป้องกันตัวเองจากโรคมือ เท้า ปากอย่างถูกต้องและถูกวิธี

 

0 0

3. กิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด-19

วันที่ 25 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • กล่าวรายงาน
  • โดยนางสาวนาฎนธี ผิวเหลือง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง
  • กล่าวเปิดงาน โดย นายมุฮัมมัดสุกรี แหมถิ่น นายกองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน
  • บรรยายให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดย นางรสนา บินหมาน ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ บรรยายให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดย นางอภิยา เหตุทอง ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
    -ล้างมือด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาดถูกวิธี ๗ ขั้นตอน -การใช้เจลล้างมือ -การสวมหน้ากากอนามัย การทำความสะอาดและการทิ้ง
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • แบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
  • สรุปประเด็นหัวข้อบรรยายความร้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนและครูได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องตันด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ต้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาด ในชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเด็กมีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อเด็กมีทักษะในการจัดสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อป้องกันโรคติดต่อด้วยการส่งเสริมให้เด็กนักเรียนล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 124
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 124
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเด็กมีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค (2) 2. เพื่อเด็กมีทักษะในการจัดสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง (3) 3. เพื่อป้องกันโรคติดต่อด้วยการส่งเสริมให้เด็กนักเรียนล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ รณรงค์ ป้องกันโรคโควิด-19 (2) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรม รณรงค์ป้องกันโรคมือ เท้า ปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5286-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนาฏนธี ผิวเหลือง นางสากีน๊ะ พันหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด