กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ และรณรงค์การป้องกันโรคระบาดในชุมชน ประจำปี 2565 ”

ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางวนิดา หะยีอุมา

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ และรณรงค์การป้องกันโรคระบาดในชุมชน ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4137-65-01-05 เลขที่ข้อตกลง 22/65

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ และรณรงค์การป้องกันโรคระบาดในชุมชน ประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ และรณรงค์การป้องกันโรคระบาดในชุมชน ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ และรณรงค์การป้องกันโรคระบาดในชุมชน ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4137-65-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Joint Investigation Team: JIT) เป็นกลไกในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพเกิดการเจ็บป่วย และเสียชีวิต นั่นหมายถึงความสามารถของบุคลากรภาคีเครือข่ายในพื้นที่ร่วมทีมกันเพื่อรับผิดชอบเฝ้าระวัง และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ซึ่งการดำเนินงานจึงจะสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ จากการสอบถามแบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับระบาดวิทยาพื้นฐานและการป้องกันควบคุมโรคของทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ตำบลพร่อน ปรากฏว่าทีมยังขาดความรู้ความเข้าใจในประเด็นดังกล่าวถึงร้อยละ 60 จึงมีความจำเป็นที่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ตำบลพร่อน ต้องได้รับความรู้ความเข้าใจตามมาตรฐานงานระบาดวิทยา เพื่อเป็นการยกระดับเป็นทีมที่สามารถทำหน้าที่เฝ้าระวัง ค้นหาเหตุการณ์ผิดปกติได้เร็วขึ้น มีการตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม และมีความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้ทันทีและมีประสิทธิภาพ ในปี พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมาได้มีการจัดทำเวทีประชาคมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีผลการสะท้อนปัญหาโรคติดต่อระบาดเป็นลำดับที่ 2 เนื่องจากในทุกๆ ปีในพื้นที่ตำบลพร่อน พบผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคติดต่อที่หลากหลายและค่อนข้างรุนแรง ซึ่งในปี พ.ศ. 2563-2564 ที่ผ่านมาเป็นปีแห่งการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (Covid-19) กระจายไปทั่วทุกมุมโลก จากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั้งโลก เป็นจำนวน 398 ล้านราย และเสียชีวิต 5.75 ล้านราย ประเทศไทยป่วยติดเชื้อ 2.52 ล้านราย และเสียชีวิต 22,320 ราย พื้นที่จังหวัดยะลาป่วยติดเชื้อระลอกมกราคม 2565 (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565) จำนวนผู้ป่วยติดเชื้อ (สะสม) 616 ราย และเสียชีวิต 11 ราย ส่วนพื้นที่ตำบลพร่อนพบผู้ป่วยติดเชื้อ (สะสมทั้งหมด) 325 ราย และเสียชีวิต 5 ราย (COVID-19 จังหวัดยะลา, 9 ก.พ.2565) ซึ่งสถานการณ์ปัจจุบันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (Covid-19) ยังคงระบาดหนักอยู่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ประชาชนได้มีความตระหนักในการป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง โรคที่พบได้บ่อยได้แก่ โรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัยพบ จำนวน 2 ราย วัณโรค จำนวน 3 รายและโรคหัด 1 ราย แต่ในส่วนของโรคไข้เลือดออก ในปี พ.ศ.2563-2564 ไม่พบประชาชนในพื้นที่ตำบลพร่อน ซึ่งมีแนวโน้มเกิดจากมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายตำบลพร่อน และประชาชน ในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาสา จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อฟื้นฟูความรู้แก่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ตำบลพร่อน ตามหลักวิชาการระบาดวิทยา เพื่อเตรียมความพร้อมแก่ทีม JIT ในการดำเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างเหมาะสมและการควบคุมโรค และเพื่อภาคีเครือข่ายชุมชนร่วมกันรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกซึ่งถือเป็นปัญหาสาธารณสุขของประชาชนในพื้นที่ตำบลพร่อน ซึ่งจะต้องได้รับการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูความรู้และเฝ้าระวังเหตุการณ์แก่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ตำบลพร่อน ตามหลักระบาดวิทยา
  2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายชุมชนมีความรู้ในผลิตนวัตกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกและร่วมใช้ในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ระดับหมู่บ้าน ตำบล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ระดับหมู่บ้าน ตำบล

วันที่ 11 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ระดับหมู่บ้าน ตำบล เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างเหมาะสม และการควบคุมโรค  ตามหลักวิชาการระบาดวิทยา  โดยประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลัง
  2. จัดทำแผนปฏิบัติงานรับการระบาดของโรค หรือโรคอุบัติใหม่  อุบัติซ้ำและโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่เพื่อรองรับการระบาดของโรค ก่อนเกิด ขณะเกิด และภายหลังเกิดโรค หรือเหตุการณ์ตามบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบนิเทศติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานการจัดตั้งทีม JIT ระดับตำบล และรายงานผลการดำเนินงาน
  3. เชิญชวนให้ภาคีเครือข่ายภายในชุมชน เช่น ส่วนราชการ องค์การบริหารส่วนตำบล โรงเรียนเครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา โรงงานเอกชน  ร่วมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก  ในพื้นที่ที่กำหนดเป็นแหล่งระบาดของโรค
  4. กิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคระบาดในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายตำบลพร่อน เช่น โรคไข้เลือดออก โรคโควิด-19 โรคไข้หวัด/ไข้หวัดใหญ่ โรคมือเท้าปาก โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง      วัณโรค และโรคฉี่หนู เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการเฝ้าระวังโรคเพิ่มขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูความรู้และเฝ้าระวังเหตุการณ์แก่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ตำบลพร่อน ตามหลักระบาดวิทยา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการเฝ้าระวังโรคเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายชุมชนมีความรู้ในผลิตนวัตกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกและร่วมใช้ในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายผลิตและใช้นวัตกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้และเฝ้าระวังเหตุการณ์แก่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ตำบลพร่อน ตามหลักระบาดวิทยา (2) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายชุมชนมีความรู้ในผลิตนวัตกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกและร่วมใช้ในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (JIT) ระดับหมู่บ้าน ตำบล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ และรณรงค์การป้องกันโรคระบาดในชุมชน ประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4137-65-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวนิดา หะยีอุมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด