กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดตำบลแหลมโพธิ์ ปี 2561 ”
ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางปาตีเมาะ อาแว




ชื่อโครงการ โครงการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดตำบลแหลมโพธิ์ ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3051-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดตำบลแหลมโพธิ์ ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แหลมโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดตำบลแหลมโพธิ์ ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดตำบลแหลมโพธิ์ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3051-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แหลมโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ครั้งแรกการตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยาการเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมาย กับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว เป็นต้น เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด การประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์จะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกได้ ปัจจัยด้านอายุมารดาที่อายุน้อยและมารดาที่อายุมากมีผลต่อการตั้งครรภ์และการคลอดทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม เช่น การคลอดก่อนกำหนด วิธีการคลอด น้ำหนักทารกแรกเกิด และการตายของมารดาและทารกปริกำเนิด ปัญหาการตั้งครรภ์เหล่านี้เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ในช่วงอายุที่ไม่เหมาะสม ภาวะเสี่ยงต่างๆขณะตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ การดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ ทั้งในเรื่องการรับบริการฝากครรภ์ที่ครบตามเกณฑ์ ด้านโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย รวมไปถึงการดูแลสุขภาพจิตใจและการปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคมเพื่อรองรับบทบาทหน้าที่ และภาพลักษณ์ใหม่ที่จะเกิดขึ้น
ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาสำคัญของงานอนามัยแม่และเด็ก ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เมื่อหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดจะมีผลกระทบต่อสุขภาพมารดาและทารก ผลกระทบต่อมารดาได้แก่ น้ำหนักขึ้น ระหว่างตั้งครรภ์น้อย คลอดก่อนกำหนด ติดเชื้อที่ฝีเย็บ มีไข้ ตกเลือดหลังคลอดสูงกว่ามารดาที่ไม่ซีด ทำให้ เหนื่อยง่าย หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ และหากเป็นรุนแรงอาจมีอาการทางสายตา อาจมองภาพไม่เห็นได้จากการที่ เส้นประสาทตาบวมได้ ส่วนผลกระทบต่อทารกได้แก่ มีปัญหาทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนัก น้อย พัฒนาการเด็กล่าช้าและสติปัญญาการเรียนรู้ต่ำ ภาวะซีดในที่พบส่วนใหญ่เกิดจากการขาดธาตุเหล็ก จากสถานการณ์ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์อำเภอยะหริ่ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 - 2559 พบว่าอัตราภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ คิดเป็นร้อยละ 11.54, 14.30,13.05 ในตำบลแหลมโพธิ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 - 2560 พบว่าอัตราภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์คิดเป็นร้อยละ 12.50, 17.10 และ 16.60,20.2 (เกณฑ์ตัวชี้วัดของแผนพัฒนาสาธารณสุข ไม่เกินร้อยละ ๑๐)ดังนั้นการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดจึงมีความสำคัญและต้องการความร่วมมือร่วมใจจากกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ รวมถึงชุมชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ นำไปสู่การพัฒนาการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแล เฝ้าระระวังหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
  2. 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลรักษา
  3. 3. เพื่อลดอัตราภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ และในระยะใกล้คลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรม/สัมมนาเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ผลกระทบจากภาวะซีดและวิธีการป้องกัน รักษาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ การป้องกันและดูแลตนเอง แก่หญิงตั้งครรภ์
  2. focus group หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์และ อสม.มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ผลกระทบจากภาวะซีดและวิธีการป้องกัน การดูแลรักษาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ได้อย่างถูกต้อง
  2. หญิงตั้งครรภ์มีการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
  3. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลง
  4. มีกลุ่มเพื่อนดูแลเพื่อนในหญิงตั้งครรภ์2กลุ่มหมู่ละกลุ่ม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การอบรม/สัมมนาเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ผลกระทบจากภาวะซีดและวิธีการป้องกัน รักษาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ การป้องกันและดูแลตนเอง แก่หญิงตั้งครรภ์

วันที่ 28 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการอบรม/สัมมนาเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ผลกระทบจากภาวะซีดและวิธีการป้องกัน รักษาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ การป้องกันและดูแลตนเอง แก่หญิงตั้งครรภ์ทุกราย และ อสม.ทั้ง 2 หมู่ โดยการจัดนิทรรศการและให้ความรู้ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาตาบูดี จำนวน 100 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแล เฝ้าระระวังหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
    1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลรักษา
  2. เพื่อลดอัตราภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ และในระยะใกล้คลอด

 

100 0

2. focus group หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

วันที่ 7 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

focus group หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดที่ รพ.สต.จำนวน 30 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแล เฝ้าระระวังหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลรักษา
  3. เพื่อลดอัตราภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ และในระยะใกล้คลอด

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแล เฝ้าระระวังหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลรักษา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อลดอัตราภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ และในระยะใกล้คลอด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแล เฝ้าระระวังหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (2) 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลรักษา (3) 3. เพื่อลดอัตราภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ และในระยะใกล้คลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรม/สัมมนาเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ผลกระทบจากภาวะซีดและวิธีการป้องกัน รักษาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ การป้องกันและดูแลตนเอง แก่หญิงตั้งครรภ์ (2) focus group หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดตำบลแหลมโพธิ์ ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3051-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปาตีเมาะ อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด