กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กพิเศษศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
เงินบริจาค ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กพิเศษศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-65-3-3 เลขที่ข้อตกลง 29/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กพิเศษศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กพิเศษศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กพิเศษศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-65-3-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล เป็นหน่วยงานที่ให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มแก่เด็กพิการตั้งแต่แรกเกิด หรือแรกพบความพิการโดยมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็กพิการให้มีพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์จิตใจสังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิตให้พัฒนาเด็กไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดีมีวินัยและในปัจจุบัน สังคมไทยมุ่งเน้นการจัดระบบสวัสดิการต่าง ๆ ให้แก่ ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายโดยรัฐอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงมีการขับเคลื่อนการดำเนินการด้านกฎหมาย นโยบาย แผนงานต่าง ๆ แก่กลุ่มเป้าหมายเด็กพิเศษมากขึ้น หากแต่ในความเป็นจริงเราคงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า ยังมีจำนวนเด็กพิเศษอีกไม่น้อยที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการต่าง ๆ ของรัฐได้อย่างทั่วถึงในทุกระดับสังคมซึ่งจากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ เด็กพิเศษส่วนใหญ่ยังขาดการฟื้นฟูในทุกด้านขาดโอกาสในการเรียนรู้สู่สังคมภายนอกอันเนื่องมาจากครอบครัวเด็กพิเศษขาดความกล้าและขาดความมั่นใจในการพาเด็กพิเศษเหล่านั้นออกสู่สังคมภายนอกที่นอกเหนือจากบ้านพักและชุมชนในครอบครัวตัวเอง อีกทั้งสังคมส่วนใหญ่ ยังขาดความเข้าใจและขาดการยอมรับเด็กพิเศษเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลให้เด็กพิเศษเหล่านั้นไม่ได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูในด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกับช่วงวัยของเขาแต่ละบุคคลขาดทักษะการดำรงชีวิต จากประสบการณ์จริงในการเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตใหม่ๆเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งขาดกระบวนการเรียนรู้ในการเข้าสู่สังคม “ครอบครัวเด็กพิเศษ” เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการของเด็กพิเศษหากครอบครัวเหล่านี้ได้มีโอกาสเรียนรู้กระบวนการพัฒนาเด็กพิเศษจากโลกภายนอกและจากประสบการณ์เรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ย่อมส่งผลให้ครอบครัวเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจ และมีทัศนคติที่ดี ต่อเด็กพิเศษมากขึ้นและหากเด็กพิเศษเองได้มีกระบวนการเรียนรู้ทักษะต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม ย่อมส่งผลให้พวกเขาเหล่านั้นได้รับโอกาสในการพัฒนาและเรียนรู้อย่างรอบด้านเพิ่มมากขึ้นนอกจากนี้ยังพบว่ามีกลุ่มครอบครัวเด็กพิเศษที่ยังขาดโอกาสในการมีส่วนเข้าร่วมกิจกรรมและขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งความรู้และการเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิตใหม่ๆตลอดจนได้รับโอกาสในการเข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริม การเรียนรู้ของเด็กและครอบครัวได้อย่างทั่วถึงอีกด้วย ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของเด็กพิเศษทั้ง ๙ ประเภทความพิการซึ่งเป็นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าทุกด้านและมีปัญหาทางด้านสุขภาพดังนั้นจึงควรเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ของครอบครัวเด็กพิเศษอย่างถูกต้องและเหมาะสม ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลจึงขอเสนอ“โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล” ขึ้นเพื่อให้เด็กพิเศษและครอบครัวเด็กพิเศษได้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างรอบด้านและเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวในการดูแลเด็กพิเศษต่อไปโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และสังคม ร่วมกันพัฒนาเด็กพิการให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
  2. เพื่อลดปัญหาภาวะเครียดหรือวิตกกังวลของคนพิการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้การดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยในเด็กพิการ และตรวจสุขภาพให้กับเด็กพิการ
  2. จัดอบรมการผลิตสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กพิการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต ๑. เด็กพิการและผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลส่งเสริมด้านสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรม ร้อยละ ๑๐๐ ๒. เด็กพิการ ตามกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการฟื้นฟูพัฒนาการทางด้านร่างกายด้านอารมณ์ด้านสังคม และด้านสติปัญญาจากสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการร้อยละ ๑๐๐ ผลลัพธ์ ๑. กลุ่มเป้าหมายโครงการ เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการฟื้นฟู พัฒนาและส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญา
๒. เด็กพิการครอบครัวเด็กพิการ กลุ่มเป้าหมาย และบุคลากรภายในศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน และเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และมีความมั่นใจมากขึ้น ในการพาเด็กพิการออกสู่สังคมภายนอกและสังคมมีโอกาสได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กพิการ ๓. เด็กพิการ กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลช่วยเหลือ และส่งเสริมสุขภาพอนามัยอย่างถูกวิธี และมีพัฒนาการที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้การดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยในเด็กพิการ และตรวจสุขภาพให้กับเด็กพิการ

วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะครูและเจ้าหน้าที่เพื่อเตรียมการและกำหนดกิจกรรมดำเนินการ 2.จัดอบรมให้ความรู้การดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยในเด็กพิการ และตรวจสุขภาพให้กับเด็กพิการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ๑. เด็กพิการและผู้ปกครอง  กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลส่งเสริมด้านสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม  และจิตใจ  โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรม ร้อยละ ๑๐๐ ผลลัพธ์ ๑. กลุ่มเป้าหมายโครงการ เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการฟื้นฟู พัฒนาและส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา

 

0 0

2. จัดอบรมการผลิตสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กพิการ

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมการผลิตสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กพิการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. เด็กพิการ ตามกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการฟื้นฟูพัฒนาการทางด้านร่างกาย  ด้านอารมณ์  ด้านสังคม และด้านสติปัญญา  จากสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการ    ร้อยละ ๑๐๐   ผลลัพธ์ 1. เด็กพิการ  ครอบครัวเด็กพิการ กลุ่มเป้าหมาย และบุคลากรภายในศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูลมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน และเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และมีความมั่นใจมากขึ้น  ในการพาเด็กพิการออกสู่สังคมภายนอก  และสังคมมีโอกาสได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กพิการ 2. เด็กพิการ กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลช่วยเหลือ และส่งเสริมสุขภาพอนามัยอย่างถูกวิธี และมีพัฒนาการที่ดีขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้ปกครอง เด้กพิการ ผู้ที่เกคี่ยวข้องและเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และเล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กพิการ สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยให้แก่เด็กพิการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ในส่วนการผลิตสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กพิการ เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการฟื้นฟู พัฒนาและส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณื สังคม และสติปัญญา การดูแลสุขภาพอนามัยที่ถูกวิธี สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการพัฒนาและส่งเสริมพัฒนาการให้แก่เด็กพิการอย่างถูกต้อง เหมาะสม และลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟู
80.00 100.00 100.00

 

2 เพื่อลดปัญหาภาวะเครียดหรือวิตกกังวลของคนพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละคนพิการมีภาวะเครียดหรือวิตกกังวล
95.00 60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ (2) เพื่อลดปัญหาภาวะเครียดหรือวิตกกังวลของคนพิการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้การดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยในเด็กพิการ และตรวจสุขภาพให้กับเด็กพิการ (2) จัดอบรมการผลิตสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กพิการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กพิเศษศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล

รหัสโครงการ L5300-65-3-3 รหัสสัญญา 29/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การผลิตสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กพิการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

การผลิตสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กพิการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การผลิตสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กพิการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เด็กพิการได้รับการฟื้นฟูพัฒนาการทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา จากสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการ เกิดแหล่งเรียนรู้ใหม่ในการพัฒนาเด็กพิการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

เด็กพิการได้รับการดูแลส่งเสริมด้านสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

เด็กพิการได้รับการดูแลส่งเสริมด้านสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็กพิเศษศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-65-3-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เงินบริจาค ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด