กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง


“ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2565 ”

ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางแวสุนียะห์ อาแด

ชื่อโครงการ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2484-01-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2484-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข พบว่าโรคมะเร็งทุกชนิดเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆ และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น จากสถิติ พบว่าสาเหตุการป่วยด้วยมะเร็งเต้านมมีอัตรา 28.26 พบมากในสตรีอายุ 35 – 60 ปี รองลงมาคือมะเร็งปากมดลูก ซึ่งในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45 – 50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด 5 ปี ประมาณร้อยละ 60 จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยพบรายใหม่และผู้ป่วยเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า 60,000 คนทั่วประเทศ แต่อัตราการอยู่รอด 5 ปี วิธีการป้องกันที่สำคัญที่สุด ของมะเร็งทั้ง 2 ชนิด คือการค้นหาโรคตั้งแต่ยังไม่มีอาการ จะดีขึ้นถ้าพบในระยะเริ่มแรกเพื่อรับการรักษาก่อนจะลุกลาม และการป้องกันที่ดีที่สุด คือการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด จากผลการศึกษาของ International Agency for Research on Cancer (IARC/WHO) พบว่าถ้าการทำ Pap Smear 1 ครั้งทุกปี หรือ 1 ครั้งทุก 2 ปี หรือ 1 ครั้งทุก 3 ปี จะมีอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกลดลงร้อยละ 91 – 93 และการทำ Pap smear 1 ครั้งทุก 5 ปีจะลดลงร้อยละ 84 (โดยทำ Screen ในผู้หญิงอายุ 35 – 64 ปี) ดังนั้นการให้ความรู้ ให้ความเข้าใจที่ถูกต้อง การฝึกทักษะในการสังเกต การสร้างความตระหนักแก่ประชาชนกลุ่มสตรี เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดูแลป้องกันตนเอง การตรวจคัดกรองค้นหาความผิดปกติในระยะแรก ทำให้สามารถได้รับการดูแลรักษาได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ลดอัตราป่วย และลดอัตราตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ จากการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องของโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลบ้านโคกงู ตั้งแต่ปี 2558 –2563 ในกลุ่มสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก สะสม 5 ปี จำนวน 248 คน คิดเป็นร้อยละ 54.69 (ต่ำกว่าเกณฑ์ตัวชี้วัดสะสมมากกว่าร้อยละ 80) และสำหรับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม กลุ่มสตรีอายุ 30-70 ปี ตั้งแต่ปี 2558-2563 ได้คัดกรองโรคมะเร็งเต้านม จำนวน 771 คน คิดเป็นร้อยละ 95.69 ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ แต่ก็จำเป็นจะต้องดำเนินการตรวจทุกปี เพื่อการรักษาที่รวดเร็ว หากพบความผิดปกติจึงจำเป็นจะต้องจัดกิจกรรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มเป้าหมายเพื่อเพิ่มความรู้ เพิ่มความตระหนัก และให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองฯในกลุ่มเป้าหมายให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลทำให้ไม่พบอัตราป่วยและอัตราตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมหรือมีอัตราลดลง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุนทอง จึงได้จัดทำโครงการนี้ เพื่อส่งเสริมให้สตรีมีความรู้ความตระหนักถึงผลกระทบ และกระตุ้นให้สตรีตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกสะสม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 หรือคิดเป็นรายปี มากกว่าร้อยละ 20
  2. เพื่อค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมในระยะที่ไม่รุนแรง เพื่อส่งต่อรักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม
  2. กิจกรรมมหกรรมรณรงค์คัดกรองเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และเกิดความตระหนักในการเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตรา การเกิดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ไม่รุนแรง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมมหกรรมรณรงค์คัดกรองเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก สาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนอายุ 30-60ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพื่อให้สามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากผลการดำเนินโครงการ ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและสามารถนำไปถ่ายทอดต่อได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกสะสม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 หรือคิดเป็นรายปี มากกว่าร้อยละ 20
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมรายปี ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
0.00 80.00

สตรีอายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมรายปี ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

2 เพื่อค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมในระยะที่ไม่รุนแรง เพื่อส่งต่อรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ได้รับการส่งต่อ รักษาทุกราย ร้อยละ 100
0.00 100.00

ผู้ป่วยที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ได้รับการส่งต่อ รักษาทุกราย ร้อยละ 100

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกสะสม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 หรือคิดเป็นรายปี มากกว่าร้อยละ 20 (2) เพื่อค้นหากลุ่มป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมในระยะที่ไม่รุนแรง เพื่อส่งต่อรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม (2) กิจกรรมมหกรรมรณรงค์คัดกรองเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2484-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางแวสุนียะห์ อาแด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด