กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในผู้สูงอายุประจำปี 2565 ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ เกษาทร ประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลทำนบ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในผู้สูงอายุประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในผู้สูงอายุประจำปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในผู้สูงอายุประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในผู้สูงอายุประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5264-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมในปัจจุบัน ทำให้คนในสังคมต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคม ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด ความขับข้องใจแยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิตโดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิต เมื่อวัยหลังเกษียณ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพทรุดโทรมลง อาจจะมีภาวะซึมเศร้ามีโรคทางกายเพิ่มขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจต่อความเป็นอยู่ของคนในชุมชนทั้งสิ้น และหากไม่ได้รับการดูแลใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังแยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้
ดังนั้นทางชมรมผู้สูงอายุตำบลทำนบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจ ในผู้สูงอายุ ขึ้น เพื่อผู้สูงอายุได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการดูแลสุขภาพจิต สุขภาพกาย ได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี ส่งผลให้มีสุขภาพจิตสุขภาพกาย สุขภาพทางปัญญาและสุขภาพทางสังคม ที่ดีควบคู่กันต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (สุขภาพจิต สุขภาพกาย สุขภาพ ทางปัญญาและสุขภาพทางสังคม) ได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี
  2. เพื่อลดปัญหาอาการเจ็บป่วยทั้งทางอารมณ์ ร่างกายและทางจิตใจ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม/หารือ/วางแผนการทำงาน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย(โนราบิก)
  4. รายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 35
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม 2 สามารถลดปัญหาอาการเจ็บป่วยทั้งทางอารมณ์ร่างกายและทางจิตใจของผู้เข้าร่วมโครงการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม/หารือ/วางแผนการทำงาน

วันที่ 11 ธันวาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผน เสนอโครงการ งบประมาณและกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำโครงการเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณฯ

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 29 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยสูงอายุ และ เรื่องการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเพื่อสร้างสมดุลให้กับชีวิต งบประมาณ 1. ค่าป้ายโครงการฯขนาด 1x3 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท 3. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท 50 คน เป็นเงิน  2,500 บาท 4. ค่าตอบแทนวิทยากร 5 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน  3,000 บาท 5. ค่าจัดทำเอกสารประกอบการอบรมจำนวน 35  ชุด ๆ ละ 30  บาท เป็นเงิน 1,050 บาท 6. ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม เป็นเงิน 1,750  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี
  2. ลดปัญหาอาการเจ็บป่วยทั้งทางอารมณ์  ร่างกายและทางจิตใจ

 

0 0

3. การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย(โนราบิก)

วันที่ 29 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย (โนราบิก) งบประมาณ 1. ค่าตอบผู้นำโนราบิก  จำนวน 81 วันๆละ 1 ชั่วโมงๆละ 100 บาท เป็นเงิน 8,100  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา

 

0 0

4. รายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินการ จัดทำรูปเล่มสรุปผลการดำเนินโครงการนำเสนอต่อหน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำรูปเล่มฉบับสมบูรณ์รายงานผลการดำเนินโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (สุขภาพจิต สุขภาพกาย สุขภาพ ทางปัญญาและสุขภาพทางสังคม) ได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (สุขภาพจิต สุขภาพกาย สุขภาพ ทางปัญญาและสุขภาพทางสังคม) ได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี
40.00 80.00 80.00

 

2 เพื่อลดปัญหาอาการเจ็บป่วยทั้งทางอารมณ์ ร่างกายและทางจิตใจ
ตัวชี้วัด : ลดปัญหาอาการเจ็บป่วยทั้งทางอารมณ์ ร่างกายและทางจิตใจ
10.00 45.00 45.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา
ตัวชี้วัด :
40.00 90.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 15 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 35 35
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (สุขภาพจิต สุขภาพกาย สุขภาพ ทางปัญญาและสุขภาพทางสังคม) ได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี (2) เพื่อลดปัญหาอาการเจ็บป่วยทั้งทางอารมณ์  ร่างกายและทางจิตใจ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม/หารือ/วางแผนการทำงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย(โนราบิก) (4) รายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในผู้สูงอายุประจำปี 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประกอบ เกษาทร ประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลทำนบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด