กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการชาวทำนบร่วมใจ ป้องกันและรับมือกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพัทธนัย จอเอียด ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพร้าว ตำบลทำนบ

ชื่อโครงการ โครงการชาวทำนบร่วมใจ ป้องกันและรับมือกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-1-01 เลขที่ข้อตกลง 18/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวทำนบร่วมใจ ป้องกันและรับมือกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวทำนบร่วมใจ ป้องกันและรับมือกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวทำนบร่วมใจ ป้องกันและรับมือกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5264-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ( COVID – 19 ) เป็นโรคติดต่อซึ่งเกิดจากไวรัสโคโรนามีการระบาดในหลายประเทศทั่วโลก การแพร่กระจายเชื้อมีลักษณะเป็นวงกว้างและมีความรุนแรงมากโดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มป่วยด้วยโรคประจำตัว คนท้องและเด็กเล็กแพร่จากคนสู่คนผ่านทางฝอยละอองจากจมูกหรือปากซึ่งขับออกมาเมื่อผู้ป่วย ไอหรือจาม โดยรับเชื้อได้จากการหายใจเอาฝอยละอองเข้าไปจากผู้ป่วย หรือจากการเอามือไปจับพื้นผิวที่มีฝอยละอองเหล่านั้นแล้วมาจับตามใบหน้ามีระยะฟักตัว 1-14 วัน สถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ( COVID – 19 ) ข้อมูลในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ประเทศไทยมีผู้ป่วยจำนวน ๑,๕๗๔,๖๑๒ ราย เสียชีวิต ๑๖,๖๓๓ รายจังหวัดสงขลา มีผู้ป่วยจำนวน ๒๙,๙๐๓ ราย เสียชีวิต ๑๕๑ รายในเขตพื้นที่อำเภอสิงหนครพบว่า มีอัตราป่วยเป็นอันดับ ๓ ของจังหวัดสงขลามีผู้ป่วยจำนวน ๓,๕๔๒ ราย เสียชีวิต ๒๒ ราย ตำบลที่มีอัตราป่วยสูงสุดคือตำบลหัวเขาตำบลสทิงหม้อ ตำบลม่วงงาม ตำบลวัดขนุนและตำบลชิงโคตามลำดับปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ( COVID – 19 )ที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์โดยการมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาและความรุนแรงของโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ( COVID – 19 ) เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ( COVID – 19 ) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของบุคคลเป็นอันมาก ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ( COVID – 19 ) จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ดังนั้นจากข้อมูลดังกล่าวทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ตระหนักถึงประชาชนของตำบลทำนบที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ( COVID – 19 ) จึงได้จัดทำโครงการ ชาวทำนบร่วมใจป้องกันและรับมือกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ( COVID – 19 ) เพื่อป้องกันและควบคุมโรค รวมทั้งเป็นการสร้างความตะหนัก และรับมือกับการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙( COVID – 19 ) มีมีการระบาดในขณะนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ การเฝ้าระวัง ควบคุมการแพร่ระบาดและความร่วมมือควบคุม ป้องกันโรค
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงในพื้นที่ตำบลทำนบ มีความตระหนักต่ออันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 )
  3. เพื่อลดความรุนแรงของโรค และลดการระบาดของโรคอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ของตำบลทำนบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผน และสรุปการดำเนินงาน
  2. กิจกรรมอบรม ให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย การควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID–19 )และการให้คำแนะนำเรื่องการปฏิบัติขณะกักตัว แก่ผู้ที่สัมผัสเสี่ยงสูง
  3. กิจกรรมควบคุมป้องกันโรค กิจกรรมการรวมตัวคนหมู่มาก / ในสถานบริการ
  4. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ที่กักตัวตามบ้านเกี่ยวกับโรคโควิด 19 และลงเยี่ยมผู้ที่กักตัว พูดคุยให้ คำแนะนำ ให้กำลังใจแก่ผู้ที่กักตัว
  5. ประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้นำชุมชน อสม. แกนนำครอบครัวในตำบลทำนบมีศักยภาพในการเฝ้าระวัง ควบคุมการแพร่ระบาด ในชุมชนโดยชุมชน
  2. ประชาชนในตำบลทำนบมีความรู้และปฏิบัติตัว เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 ) อย่างถูกต้องสามารถดูแลบุคคลคนในครอบครัว และชุมชนของตนเอง
  3. ประชาชนในตำบลทำนบ รับการวัคซีนครบทุกคนและสามารถป้องกันตัวเอง จนทำให้อัตราการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพ การเฝ้าระวัง ควบคุมการแพร่ระบาดและความร่วมมือควบคุม ป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้นำชุมชน อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ การเฝ้าระวัง ควบคุมการแพร่ระบาดและความร่วมมือควบคุม ป้องกันโรค
30.00 90.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงในพื้นที่ตำบลทำนบ มีความตระหนักต่ออันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 )
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงในพื้นที่ตำบลทำนบมีความรู้ และปฏิบัติตัว เพื่อป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 ) อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
40.00 80.00

 

3 เพื่อลดความรุนแรงของโรค และลดการระบาดของโรคอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ของตำบลทำนบ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 ) ลดลง 2. ประชาชนในตำบลทำนบรับการฉีดวัคซีนป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 ) เพื่อลดความรุนแรงของโรค มากกว่าร้อยละ 70
40.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพ การเฝ้าระวัง ควบคุมการแพร่ระบาดและความร่วมมือควบคุม ป้องกันโรค (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงในพื้นที่ตำบลทำนบ มีความตระหนักต่ออันตรายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 ) (3) เพื่อลดความรุนแรงของโรค และลดการระบาดของโรคอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ของตำบลทำนบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผน และสรุปการดำเนินงาน (2) กิจกรรมอบรม ให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย การควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019  ( COVID–19 )และการให้คำแนะนำเรื่องการปฏิบัติขณะกักตัว แก่ผู้ที่สัมผัสเสี่ยงสูง (3) กิจกรรมควบคุมป้องกันโรค กิจกรรมการรวมตัวคนหมู่มาก / ในสถานบริการ (4) กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ที่กักตัวตามบ้านเกี่ยวกับโรคโควิด 19 และลงเยี่ยมผู้ที่กักตัว พูดคุยให้ คำแนะนำ ให้กำลังใจแก่ผู้ที่กักตัว (5) ประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวทำนบร่วมใจ ป้องกันและรับมือกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพัทธนัย จอเอียด ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพร้าว ตำบลทำนบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด