โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕ ”
ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายนนทวัฒน์ เส็มสา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕
ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5251-1-03 เลขที่ข้อตกลง 4/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5251-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกรายงานว่า อุบัติเหตุที่เสียชีวิตจากการจมน้ำในแต่ละปีประมาณ ๓๗๒,๐๐๐ คน มากกว่าร้อยละ ๕๐ อยู่ในกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๕ ปี ในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เป็นสาเหตุอันดับที่ ๓ รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และเอดส์ สำหรับในประเทศไทย พบเด็กที่อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตเป็นอันดับ ๑ มากกว่าเด็กที่เป็นไข้เลือดออก และจากการจราจร ซึ่งในรอบ ๑๐ ปี ที่ผ่านมาระหว่าง พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๖๐ มีเด็กที่อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตจำนวน ๙,๕๗๔ คน เฉลี่ยเดือนละ ๘๐ คน ส่วนมากเกิดจากการลงไปเล่นน้ำหรือพลัดตกลงไปในแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น บ่อขุด อ่างน้ำ เพราะบ่อน้ำมักจะมีลักษณะที่ลาดชันและลึก ซึ่งบางแห่งไม่มีการสร้างรั้วหรือติดป้ายหรือมีอุปกรณ์ในการช่วยเหลือ ปัญหาจากภัยทางน้ำนอกจากจะนำไปสู่การสูญเสียชีวิตและเกิดความพิการโดยไม่สมควรแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อครอบครัว สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งปัจจัยสำคัญของการรอดชีวิตคือ การที่ผู้ประสบภัยต้องสามารถช่วยเหลือตนเองโดยสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ และสามารถให้การช่วยเหลือผู้ที่กำลังจะจมน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในระยะเวลารวดเร็ว จึงจะสามารถช่วยลดการสูญเสียที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
งานการแพทย์ฉุกเฉิน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสำนักขาม จึงจัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ให้แก่เยาวชนในพื้นที่เทศบาลตำบลสำนักขาม กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” โดยจัดให้มีการสอนการลอยตัว การว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด และวิธีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(ตะโกน ยื่น โยน)ให้เยาวชน ซึ่งเป็นทักษะขั้นพื้นฐานที่เด็กและเยาวชนไทยทุกคนต้องได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ เพื่อเป็นการป้องกันการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ
- ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้
- ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล
- ๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ
๒. เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้
๓. เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล
๔. เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ
ตัวชี้วัด : 1. เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐
2. ผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐
1.00
2
๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้
ตัวชี้วัด : 1. เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐
2. ผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐
1.00
3
๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล
ตัวชี้วัด : 1. เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐
2. ผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐
1.00
4
๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐
2. ผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ (2) ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ (3) ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล (4) ๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5251-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายนนทวัฒน์ เส็มสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕ ”
ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายนนทวัฒน์ เส็มสา
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5251-1-03 เลขที่ข้อตกลง 4/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5251-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกรายงานว่า อุบัติเหตุที่เสียชีวิตจากการจมน้ำในแต่ละปีประมาณ ๓๗๒,๐๐๐ คน มากกว่าร้อยละ ๕๐ อยู่ในกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๕ ปี ในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เป็นสาเหตุอันดับที่ ๓ รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และเอดส์ สำหรับในประเทศไทย พบเด็กที่อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตเป็นอันดับ ๑ มากกว่าเด็กที่เป็นไข้เลือดออก และจากการจราจร ซึ่งในรอบ ๑๐ ปี ที่ผ่านมาระหว่าง พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๖๐ มีเด็กที่อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตจำนวน ๙,๕๗๔ คน เฉลี่ยเดือนละ ๘๐ คน ส่วนมากเกิดจากการลงไปเล่นน้ำหรือพลัดตกลงไปในแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น บ่อขุด อ่างน้ำ เพราะบ่อน้ำมักจะมีลักษณะที่ลาดชันและลึก ซึ่งบางแห่งไม่มีการสร้างรั้วหรือติดป้ายหรือมีอุปกรณ์ในการช่วยเหลือ ปัญหาจากภัยทางน้ำนอกจากจะนำไปสู่การสูญเสียชีวิตและเกิดความพิการโดยไม่สมควรแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อครอบครัว สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งปัจจัยสำคัญของการรอดชีวิตคือ การที่ผู้ประสบภัยต้องสามารถช่วยเหลือตนเองโดยสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ และสามารถให้การช่วยเหลือผู้ที่กำลังจะจมน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในระยะเวลารวดเร็ว จึงจะสามารถช่วยลดการสูญเสียที่จะเกิดขึ้นในอนาคต งานการแพทย์ฉุกเฉิน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสำนักขาม จึงจัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ให้แก่เยาวชนในพื้นที่เทศบาลตำบลสำนักขาม กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” โดยจัดให้มีการสอนการลอยตัว การว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด และวิธีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(ตะโกน ยื่น โยน)ให้เยาวชน ซึ่งเป็นทักษะขั้นพื้นฐานที่เด็กและเยาวชนไทยทุกคนต้องได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ เพื่อเป็นการป้องกันการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ
- ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้
- ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล
- ๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ ๒. เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ ๓. เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล ๔. เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ ตัวชี้วัด : 1. เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ 2. ผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ |
1.00 |
|
||
2 | ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ ตัวชี้วัด : 1. เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ 2. ผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ |
1.00 |
|
||
3 | ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล ตัวชี้วัด : 1. เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ 2. ผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ |
1.00 |
|
||
4 | ๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด : 1. เด็กและเยาวชนสามารถสอบผ่านภาคทฤษฎีและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ 2. ผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยอันตรายทางน้ำ (2) ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ (3) ๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำเบื้องต้น(กะโกน ยื่น โยน)ตามหลักมาตรฐานสากล (4) ๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ กิจกรรม “ลอยตัวได้ ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำปลอดภัย” ปี ๒๕๖๕ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5251-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายนนทวัฒน์ เส็มสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......