กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง


“ โครงการคลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลโรค ”

ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุวดี จันกระจ่าง

ชื่อโครงการ โครงการคลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลโรค

ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5205-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5205-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร่นา 2019 (COVID-19) ได้เริ่มต้นขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562โดยพบครั้งแรกในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในภาคกลางของประเทศจีน กว่า 19 ล้านคน วันที่ 30 ธันวาคม 2562 สำนักงานสาธารณสุขเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ได้ออกประกาศเป็นทางการ พบโรคปอดอักเสบไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับตลาดอาหารทะเลที่เมืองอู่ฮั่น โดยสาเหตุที่เป็นไปได้มากที่สุดในการติดต่อสู่คน คือการสัมผัสกับเนื้อสัตว์ประเภทต่างๆที่วางขายในตลาด และเนื่องจากเมืองอู่ฮั่นเป็นเมืองใหญ่ที่มีประชาชนอยู่หนาแน่น จึงทำให้การระบาดแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว มีผู้ป่วยหนักและผู้เสียชีวิตจำนวนมาก     จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร่นา 2019 ในประเทศไทย พบผู้ติดเชื้อรายแรกเป็นนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางเข้าประเทศไทยเมื่อวันที่๑๒ มกราคม ๒๕๖๓ ภายในเวลา ๒ สัปดาห์และเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2563 ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยชาวไทยรายแรก อาชีพขับรถแท็กซี่ ซึ่งไม่เคยมีประวัติเดินทางไปต่างประเทศ แต่มีประวัติขับรถแท็กซี่ให้บริการกับผู้ป่วยชาวจีน ในระยะต่อมาจำนวนผู้ป่วยได้เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2563 กำหนดให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโร่นา 2019 หรือ COVID -19เป็นโรคติดต่ออันตราย ลำดับที่ 14 ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย ในระยะต่อมาได้พบการแพร่ระบาดใหญ่ โดยเป็นการติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน (Cluster) จนทำให้ยอดผู้ติดเชื้อของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่กลางเดือนมีนาคม พ.ศ 2563 เป็นต้นมา     จากสถานการณ์การระบาดของโรคดังกล่าว กระทรวงสาธารณสุขยังคงเน้นย้ำในแถลงการณ์ให้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการในการป้องกันตนเองเพื่อชะลอการระบาดของ โควิด-19 โดยใช้มาตรการ DMHTT คือ อยู่ห่างไว้ (Distancing: D) ใส่มาสก์กัน (Mask Wearing: M) หมั่นล้างมือ (Hand Washing: H) ตรวจให้ไว (Testing: T) และใช้ไทยชนะ (Thai Cha na: T) โดยมาตรการหนึ่งที่สำคัญเน้นย้ำ คือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า เพื่อป้องกันการสัมผัสและลดการฟุ้งกระจายของละอองฝอยจากการพูด ไอ จาม ทั้งนี้ หน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วจัดได้ว่าเป็นขยะติดเชื้อ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วปนเปื้อนด้วยเสมหะ น้ำลาย น้ำมูกของบุคคลผู้ใช้ และอาจยังปนเปื้อนเชื้อโรคจากบุคคลที่ป่วย หรือผู้เป็นพาหะนำโรคได้ ถ้าหากหน้ากากอนามัยเหล่านี้ไม่ได้รับการคัดแยกอย่างถูกวิธี ถูกทิ้งปะปนกับขยะชุมชน จะส่งผลให้พนักงานที่ทำหน้าที่เก็บขนขยะมีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อโควิด 19 และเมื่อขยะถูกนำไปกำจัดด้วยวิธีที่ไม่ถูกต้อง เช่น เทกองกลางแจ้ง ก็อาจเพิ่มโอกาสที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปยังคนในชุมชนทั้งทางน้ำและทางอากาศ นอกจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของพนักงานเก็บขยะและคนในชุมชนแล้ว ปริมาณขยะหน้ากากอนามัยแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งที่จัดการไม่ถูกต้องยังส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมได้ เนื่องจากหน้ากากอนามัยมีองค์ประกอบที่ผลิตจากวัสดุที่ ย่อยสลายยาก เช่น โพลีโพรไพลีน (Polypropylene : PP) ซึ่งเป็นพลาสติก ชนิดหนึ่งที่นำมาขึ้นรูปให้เป็นเส้นใยสังเคราะห์แล้วทอให้เป็นแผ่น รวม ไปถึงลวดสำหรับปรับให้เข้ากับโครงจมูกก็ทำมาจากแผ่นพลาสติกขนาดเล็ก หรือลวดโลหะอะลูมิเนียม ซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน้ากากอนามัย ดังนั้น มาตรการที่สำคัญในการจัดการขยะติดเชื้อ ควรเน้นการจัดการขยะที่ต้นทาง คือ การสร้างความตระหนักและให้ความรู้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับวิธีการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธี โดยประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนว่าสามารถทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธีได้อย่างไร รวมทั้งประชาสัมพันธ์และขอความร่วมมืออย่างจริงจังให้ประชาชนคัดแยกและทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธี โดยแนะนำให้ประชาชนนำหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้ว พับบรรจุใส่ถุงที่ปิดสนิท มัดปากถุงให้แน่น พร้อมและเขียนหรือติดหน้าถุงว่า “หน้ากากอนามัย” เพื่อให้รถเก็บขนขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเก็บไปกำจัดอย่างถูกวิธีต่อไป     จากความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการ“คลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลจากโรค” ขึ้นเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากขยะติดเชื้อประเภทหน้ากากอนามัย และลดโอกาสที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปยังคนในชุมชน ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพของพนักงานเก็บขยะ รวมทั้งลดผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19และการจัดการขยะติดเชื้อประเภทหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี
  2. ข้อที่ 2 เพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมการจัดการขยะติดเชื้อประเภท หน้ากากอนามัยที่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลจากโรค
  2. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน
  3. ลงทะเบียน/คัดกรองตามมาตราการ COVID-19
  4. กิจกรรมละลายพฤติกรรม
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคโควิด - 19
  6. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องขยะติดเชื้อ/เรื่องหน้ากากอนามัย
  7. ติดตามผู้เข้าร่วมอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หลังการอบรมผู้เข้าอบรมมีความรู้เพิ่มมากขึ้น
  2. หลังการอบรม ผู้เข้าร่วมมีพฤติกรรมการทิ้งหน้ากากอนามัยและคัดแยกขยะติดเชื้อที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19และการจัดการขยะติดเชื้อประเภทหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : แบบทดสอบก่อน/หลัง ให้ความรู้
50.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมการจัดการขยะติดเชื้อประเภท หน้ากากอนามัยที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : การปฏิบัติวิธีการสวมหน้ากากอนามัยและวิธีคัดแยกขยะติดเชื้อที่ถูกต้อง
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19และการจัดการขยะติดเชื้อประเภทหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี (2) ข้อที่ 2 เพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมการจัดการขยะติดเชื้อประเภท หน้ากากอนามัยที่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลจากโรค (2) ประชุมชี้แจงคณะทำงาน (3) ลงทะเบียน/คัดกรองตามมาตราการ COVID-19 (4) กิจกรรมละลายพฤติกรรม (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคโควิด - 19 (6) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องขยะติดเชื้อ/เรื่องหน้ากากอนามัย (7) ติดตามผู้เข้าร่วมอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคลองหรังร่วมใจ ทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธีห่างไกลโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5205-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวดี จันกระจ่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด