กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพคนพิการ ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสุนทร พรหมเมศร์

ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพคนพิการ

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-65-3-4 เลขที่ข้อตกลง 40/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพคนพิการ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพคนพิการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพคนพิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-65-3-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,410.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์มีความก้าวหน้าทำให้ผู้ป่วยทั่วไปและเรื้อรังรอดชีวิตจากภาวะวิกฤตมากขึ้น โรงพยาบาลต้องเพิ่มอัตราการหมุนเวียนเตียง เพื่อลดจำนวนวันของการอยู่รักษาในโรงพยาบาล และลดค่าใช้จ่ายของการรักษาพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยเรื้อรังต้องถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลเร็วขึ้นทั้ง ๆ ที่อาการยังไม่คงที่ บางรายมีอุปกรณ์ทางการแพทย์ติดตัวมาที่บ้านเป็นเหตุให้ต้องมีการส่งต่อให้ศูนย์บริการสาธารณสุขทำการดูแลอย่างต่อเนื่องแก่ผู้ป่วยและครอบครัวหลังการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ซึ่งผู้ป่วยจำนวนหนึ่งสามารถรักษาอาการให้หายขาดได้ แต่มีผู้ป่วยบางรายไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ กลายเป็นการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มีความยุ่งยากซับซ้อนของการควบคุมอาการของโรคให้สงบได้ ซึ่งต้องการการดูแลเพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่อง และต้องให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแล เพื่อช่วยควบคุมอาการของโรคได้ จึงต้องมีการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ผู้ป่วยเหล่านี้ต้องการการมีส่วนร่วมจากครอบครัวในการดูแล แต่การมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ยังไม่ดีเท่าที่ควร อันเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว และจากปัจจัยอื่น ๆ ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ท้อแท้ และหมดกำลังใจ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ศูนย์บริการคนพิการตำบลคลองขุด ได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลคนพิการ โดยมีกิจกรรมให้แกนนำลงสำรวจคนพิการในพื้นที่ตำบลคลองขุด เพื่อจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภาพ ที่อยู่อาศัย สภาพทางเศรษฐกิจ (แกนนำ 1 คน ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน 12 คน) ในปี 2564 มีกลุ่มเป้าหมายเป็นคนพิการในตำบลคลองขุด จำนวน 502 คน ซึ่งพบว่ามีคนพิการ จำนวน 49 คน ที่มีปัญหาเป็นผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความจำเป็นและความต้องการการช่วยเหลือให้มีการสนับสนุนวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ เช่น อาหารทางการแพทย์ ผ้าอ้อมสำเร็จรูป แผ่นรองซับ นมสำหรับเด็กพิการ เป็นต้น และในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 มีกลุ่มเป้าหมายเป็นคนพิการในตำบลคลองขุด จำนวน 525 คน ศูนย์บริการคนพิการตำบลคลองขุด จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมผู้พิการที่เป็นผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่บ้าน โดยมีกิจกรรมเยี่ยมดูแลผู้พิการที่บ้านโดยแกนนำผู้ดูแลผู้พิการ/อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่ผ่านการอบรมแล้วและมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการ เพื่อให้ผู้พิการได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยการแนะนำการดูแลผู้พิการ และพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อเป็นการดึงศักยภาพของสมาชิก ในครอบครัวให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลร่วมกับทีมสุขภาพ ซึ่งอาจทำให้ผู้พิการสามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันที่บ้านได้ ร่วมกับการส่งเสริมสุขภาพในด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดูแล และใช้ระยะเวลาในการดูแลผู้พิการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังลดการใช้เวลา ยานพาหนะผู้นำส่งในการมารับบริการจากหน่วยงานสาธารณสุขอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมชี้แจงแกนนำคนพิการ ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านคนพิการเพื่อจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภาพและที่อยู่อาศัย
  2. มอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการเป็นการเฉพาะราย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 525
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต
1. ผู้พิการได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน และได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จำนวน 525 คน
2. ผู้พิการติดบ้านติดเตียงได้รับการสนับสนุนวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ จำนวน 49 คน
ผลลัพธ์ ผู้พิการได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคเบาหวานและภาวะความดันโลหิตสูง และได้รับการเยี่ยมดูแลที่บ้านจากแกนนำด้านสุขภาพและแกนนำด้านสุขภาพสามารถให้ความช่วยเหลือดูแลคนพิการ ให้กำลังใจ แนะนำ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพให้คนพิการมีสุขภาพที่ดี ทำให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. มอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการเป็นการเฉพาะราย

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการเป็นการเฉพาะราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้พิการติดบ้านติดเตียงได้รับการสนับสนุนวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ จำนวน 49 คน

 

0 0

2. อบรมชี้แจงแกนนำคนพิการ ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านคนพิการเพื่อจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภาพและที่อยู่อาศัย

วันที่ 22 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 อบรมชี้แจงแกนนำ (อาสาสมัครดูแลคนพิการ/กรรมการคนพิการ)
กิจกรรมที่ 2 จัดทำแผนให้แกนนำลงพื้นที่เยี่ยมบ้านคนพิการเพื่อตรวจสุขภาพเบื้องต้น เพื่อจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภาพ ที่อยู่อาศัย สภาพทางเศรษฐกิจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้พิการได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน และได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จำนวน 525 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 วันที่ 1-2 มิถุนายน 2565 มอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทยที่จำเป็นสำหรับช่วยเหลือผู้พิการที่ติดบ้านติดเตียง
1.1 คนพิการที่ได้รับการเยี่ยมบ้านและดูแลสุขภาพ จำนวน 504 คน
1.2 คนพิการที่ได้รับการสนับสนุนวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับช่วยเหลือผุ้พิการที่ติดบ้านติดเตียง จำนวน 49 คน
กิจกรรมที่ 2 วันที่ 22 มิถุนายน 2565 อบรมชี้แจงแกนนำคนพิการในการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านคนพิการเพื่อจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภ่พ ที่อยู่อาสัย สภาพทางเศรษฐกิจ
สรุปผลการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานคนพิการ
-การจดทพเบียนคนพิการ/การต่อบัตรผู้พิการ จำนวน 12 คน
-มีความต้องการใช้กายอุปกรณ์ จำนวน 49 คน
-มีความต้องการปรับปรุงที่อยู่อาศัย จำนวน 30 คน
-มีความต้องการเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปรักษาพยาบาล จำนวน 36 คน -มีความต้องการส่งเสริมอาชีพ จำนวน 62 คน -มีความต้องการเครื่องอุปโภค บริโภค จำนวน 89 คน
- ไม่มีปัญหาด้านสุขภาพ ไม่มีความต้องการใช้กายอุปกรณ์และไม่ปรับปรุงที่อยู่อาศัย จำนวน 415 คน
ปัญหา อุปสรรค
-เนื่องจากผู้พิการหลายท่านไม่ได้อยู่ประจำในพื้นที่ หลายคนไปอาสัยอยุ่กับญาติพี่น้องที่ต่างพื้นที่ ทำให้การเข้าเยี่ยมและติดตามเก็บข้อมูลของผู้พิการทำได้ยาก ไม่สามารถทำได้ในเวลาที่กำหนด เพราะต้องรอให้ผู้พิการเดินทางมาอยู่ในพื้นที่
-การจัดกิจกรรมทำได้ล่าช้าจากระยะเวลาที่กำหนดไว้ เพราะการระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมที่กำหนดในโครงการได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้เดิม
แนวทางการแก้ไข
-เพื่อให้คนพิการได้รับการเยี่ยมบ้านและมีฐานข้อมุลในการขอรับการช่วยเหลือตามความเหมาะสมทุกคน จึงมีความจำเป็นต้องใช้เวลาในการเก็บข้อมูลจนครบสมบูรณ์

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้
80.28 97.96 97.96

เนื่องจากผุ้พิการบางคนมีชื่ออยู่ในเขตเทศบาลตำบคลองขุด แต่ตัวอาศัยในพื้นที่อื่น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 525 504
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 525 504
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมชี้แจงแกนนำคนพิการ ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านคนพิการเพื่อจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภาพและที่อยู่อาศัย (2) มอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้พิการเป็นการเฉพาะราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพคนพิการ

รหัสโครงการ L5300-65-3-4 รหัสสัญญา 40/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ผู้พิการต้องการการมีส่วนร่วมจากครอบครัวในการดูแล แต่การมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ยังไม่ดีเท่าที่ควร อันเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว และจากปัจจัยอื่น ๆ ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ท้อแท้ และหมดกำลังใจ จึงมีการเยี่ยมติดตามดูแลผุ้พิการที่บ้าน เพื่อส่งเสริมกำลังใจ แลกเปลี่ยนความคิด ลดภาวะความเครียด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อเป็นการดึงศักยภาพของสมาชิก ในครอบครัวให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลร่วมกับทีมสุขภาพ ซึ่งอาจทำให้ผู้พิการสามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันที่บ้านได้ ร่วมกับการส่งเสริมสุขภาพในด้านต่าง ๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพคนพิการ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-65-3-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุนทร พรหมเมศร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด