กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลบ้านสวน ”
ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางกัญญาภัค สว่างรัตน์




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลบ้านสวน

ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3325-1-3 เลขที่ข้อตกลง 22/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลบ้านสวน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลบ้านสวน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) สำรวจประเมินพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลตำบลบ้านสวน (3) เวทีสร้างความเข้าใจ ความตระหนัก ในพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสมของพนักงานเทศบาล (4) ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย (5) ถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวน/ติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดกิจกรรมต่อเนื่องในปีต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้ใหญ่อายุ 18 - 64 ปี ทั้งหมด 3460 คน มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ 1625 คนมีหน่วยงาน สถานประกอบการทั้งหมด 8 แห่ง หน่วยงานและสถานประกอบการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 5 แห่ง การพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์กรให้มีคุณภาพ นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรจะต้องมีความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ดังนั้น การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการกีฬา ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เป็นสื่อการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้สามารถมีส่วนร่วม และส่งผลดีต่อการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ การกีฬาสร้างความมีน้ำใจและความสามัคคีให้เกิดขึ้นในองค์์กรได้เป็นอย่างดีการส่งเสริมกีฬา ไม่ได้เป็นเรื่องระดับองค์กรเท่านั้น แต่ถือเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกรัฐบาล ให้ความสำคัญรวมถึงรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้แถลงนโยบายในด้านการยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของบุคลากรในองค์กร ส่งเสริมการกีฬาเพื่อสุขภาพ ใช้กีฬาเป็นสื่อในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์กรให้มีน้ำใจนักกีฬา มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกามารยาท ที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาคน โดยการจัดการทุนมนุษย์ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพ รวมถึงการบูรณาการหลาย ๆ ด้านเพื่อให้สังคมอยู่รวมกันอย่างมีความสุข สำนักปลัดงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบ้านสวน เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลบ้านสวน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. สำรวจประเมินพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลตำบลบ้านสวน
  3. เวทีสร้างความเข้าใจ ความตระหนัก ในพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสมของพนักงานเทศบาล
  4. ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย
  5. ถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวน/ติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ - มีความพึงพอใจต่อโครงการ - มีความต้องการเข้าร่วมกิจกรรมต่อไป - ให้คำแนะนำผู้อื่นต่อในด้านสุขภาพ - ได้เครือข่ายในการดูแลสุขภาพตนเอง - มีสุขภาพที่ดีขึ้น สามารถลดปริมาณการเจ็บป่วย และค่าใช้จ่ายในการรักษาและใช้ยาที่ไม่จำเป็นลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สำรวจประเมินพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลตำบลบ้านสวน

วันที่ 21 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจประเมินพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลทุกคน ตามแบบสำรวจที่คณะทำงานได้ร่วมกันออกแบบ โดยแบบสำรวจดังกล่าวมีรายละเอียดครอบคลุมพฤติกรรมการขยับกาย ดังนี้ 1) มีพฤติกรรมการขยับกายเพียงพอ(60 นาที/วัน) จำนวนกี่คน 2) มีพฤติกรรมการขยับกายไม่เพียงพอ(น้อยกว่า 60 นาที/วัน)จำนวนกี่คน 3) ไม่มีกิจกรรมทางกาย กี่คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลทุกคน •ได้ข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมพฤติกรรมการขยับกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

2. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วยผู้บริหาร 5 คน ผู้อำนวยการกอง/หัวหน้าฝ่าย 8 คน ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ จำนวน 2 คน รวม 15 คน เพื่อทำความเข้าใจโครงการ วางแผนการดำเนินกิจกรรม และสร้างแบบสำรวจพฤติกรรมการขยับกายของพนักงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 2.มีการประชุมร่วมกัน1 ครั้งจำนวน15 คน

 

0 0

3. เวทีสร้างความเข้าใจ ความตระหนัก ในพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสมของพนักงานเทศบาล

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีประชุมให้ความรู้และสร้างการตระหนักเรื่องพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสมเของพนักงานเทศบาลทุกคน โดยวิทยากรด้านสุขภาพผู้ชำนาญการ •ร่วมกันกำหนดกติกา เพื่อดำเนินการพฤติกรรมทางกายในแต่ละสัปดาห์ เพื่อสร้างความต่อเนื่องในการประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ - ประเมินชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว ความดัน ให้พนักงานทุกคนและบันทึกข้อมูลไว้ งบประมาณ - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1200 บาท - ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1.2x2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและวิทยากร จำนวน 81 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2025 บาท - ค่าตอบแทนบุคคลในการวัดดัชนีมวลกาย จำนวน 2 คนๆละ 200 บาท เป็นเงิน 400 บาท - ค่าสมุดบันทึกสุขภาพรายบุคคลพร้อมปากกา จำนวน 80 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถจัดเวทีให้ความรู้และสร้างการตระหนักเรื่องพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสม จำนวน 1 ครั้ง •  กติกาในการสร้างพฤติกรรมทางกายที่เหมาะสมในแต่ละสัปดาห์ •  ได้ข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง ความดัน ของพนักงานเทศบาลทุกคน

 

0 0

4. ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย

วันที่ 31 สิงหาคม 2565 เวลา 15:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงมือปฏิบัติกิจกรรมทางกายดังนี้ 1.กิจกรรมกรีฑา กีฬาพื้นบ้านสัมพันธ์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เวลา 1ุ5.00-16.30 น - วิ่ง, ชักกะเย่อ วิ่งกระสอบ มอญซ่อนผ้า ฯลฯ 2.กิจกรรมส่งเสริมเล่นกีฬาเปตอง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง เวลา 1ุ5.00-16.30 น. งบประมาณ - ค่าลูกเปตอง จำนวน 8 ชุดๆละ 3 ลูก ราคาชุดละ 2,500บาท เป็นเงิน 20,000 บาท - ค่าตลับเมตร 1 อันๆละ 150บาทเป็นเงิน150 บาท - ค่าเครื่องดื่ม 17 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 300 บาท เป็นเงิน 5,100 บาท 3.กิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะเสียงเพลง - ค่าอุปกรณ์เครื่องเสียง 1 ชุดๆละ 10,000 บาท - ค่าวิทยากรนำเต้น ครั้งละ 100 บาท (ตั้งเเต่เดือน สิงหาคม-ธันวาคม 2565 จำนวน 28 ครั้ง) เป็นเงิน 2,800 บาท - ออกกำลังกายเต้นแอโรบิก สัปดาห์ละ 2 ครั้ง เวลา 1ุ5.30-16.30 น.  (กิจกรรมเล่นสลับสับเปลี่ยนกันไป)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บุคลากร จำนวน 80 คน ได้ดำเนินกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

 

0 0

5. ถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวน/ติดตามประเมินผล

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอดบทเรียน จำนวน 2 ครั้ง ในเดือน ตุลาคม 2565 และธันวาคม 2565ค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าตอบแทนบุคคลในการวัดดัชนีมวลกาย จำนวน 2 คนๆละ 2 ครั้งๆละ 200 บาทต่อคน เป็นเงิน 800 บาท - ค่าวิทยากรถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวน/ติดตามประเมินผล (ในครั้งสุดท้าย เพื่อช่วยวิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงานและต่อยอดในครั้งต่อไป) จำนวน 1 คน รวม 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 83 คนๆละ1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2075 บาท (บุคลากรจำนวน 80 คน,บุคคลในการวัดดัชนีมวลกาย จำนวน 2 คน, วิทยากร จำนวน 1 คน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พนักงานอายุ 18-64 ปีมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ร้อยละ 60

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

พนักงานเเละเจ้าหน้ารวมถึงผู้บริหารได้ออกกำลังกายร่วมกัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.47 60.00

 

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
62.50 65.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) สำรวจประเมินพฤติกรรมการขยับกายของพนักงานเทศบาลตำบลบ้านสวน (3) เวทีสร้างความเข้าใจ ความตระหนัก ในพฤติกรรมการขยับกายที่เหมาะสมของพนักงานเทศบาล (4) ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย (5) ถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ทบทวน/ติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดกิจกรรมต่อเนื่องในปีต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลบ้านสวน

รหัสโครงการ 65-L3325-1-3 รหัสสัญญา 22/2565 ระยะเวลาโครงการ 16 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เกิดการรวมตัวของพนักงานในการออกกำลังกาย

ภาพถ่ายการออกกำลังกายในแต่ละครั้ง

มีการออกกำลังกายเวลาว่างและหลังเลิกงานทุกวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการประกาศกิจกรรมออกกำลังกายผ่านระบบไลน์เทศบาล ช่วง15.30-16.00 น มีการเต้นแอร์โรบิกและเล่นเปตอง มีการละเล่นชักกะเย่อ วิ่งกระสอบ กินวิบาก

ภาพถ่ายกิจกรรม

มีการกระตุ้นการออกกำลังกายในกลุ่มพนักงานต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีการออกกำลังกายโดยมีการจัดตารางแต่ละสัปดาห์ชัดเจน

ตารางออกกำลังกาย

มีการกระตุ้นการทำกิจกรรมต่อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลบ้านสวน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3325-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัญญาภัค สว่างรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด