กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานตามวิถีชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางยุพิน สาเมาะ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานตามวิถีชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L2971-02-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานตามวิถีชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานตามวิถีชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานตามวิถีชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L2971-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันแนวโน้มของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้เพิ่มมากขึ้น จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อุบัติการณ์ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้นทุกปีและเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆมากขึ้น ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมในการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป สังคมชนบทเริ่มเป็นสังคมกึ่งเมืองมากขึ้น ส่งผลต่อพฤติกรรมต่างๆ เช่น รับประทานอาหารประเภทกับข้าวสำเร็จรูป อาหารหวานและมันมากขึ้น อาหารรสเค็มจัด และพฤติกรรมการออกกำลังกายน้อยลง
จากสถิติของโรงพยาบาลกะพ้อ มีผู้ป่วยเหล่านี้เพิ่มขึ้นทุกปี โดยในปี๒๕๖4 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอยู่ในความดูแล 450 คน และ 1,580 คน ตามลำดับ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4และหมู่.7 ตำบลกะรุบี มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอยู่ในความดูแล 141 คน และ 420 คน ตามลำดับ จากปัญหาดังกล่าว ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเขต PCU โรงพยาบาลกะพ้อ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จึงเล็งเห็นความสำคัญและได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ตามวิถีชุมชน โดยการส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปลูกพืชผักสมุนไพรอย่างน้อย ครัวเรือนละ 5 ชนิด เช่น หญ้าหวาน แป๊ะตำปึง กระเจี๊ยบ มะระขี้นกบัวบก กระเพรา ใบเตย มัลเบอร์รี่ฯลฯ เพื่อเลือกใช้อาหารเป็นยาในการส่งเสริมรักษาโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม
  2. 2.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้อาหารเป็นยาตามหลักศาสนา และปอซอ 2.การออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 3.ติดตามวัดความดันโลหิตสูง และเจาะน้ำตาลในเลือด ในกลุ่มเสี่ยง
  2. กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
  3. ติดตามวัดความดันโลหิตสูงและเจาะเลือดในกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
2.เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น มีการออกกำลังกายตามรูปแบบต่างๆที่เหมาะสมตามบริบทในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ในพื้นที่ ม1,2,3,4 และ ม.7 ต.กะรุบี อ.กะพ้อ จ.ปัตตานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ใน ระดับดี

 

0 0

2. 1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้อาหารเป็นยาตามหลักศาสนา และปอซอ 2.การออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 3.ติดตามวัดความดันโลหิตสูง และเจาะน้ำตาลในเลือด ในกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 5 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้อาหารเป็นยาตามหลักศาสนา และปอซอ 2.การออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
3.ติดตามวัดความดันโลหิตสูง และเจาะน้ำตาลในเลือด ในกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานรายใหม่ ไม่เกิน ร้อยละ 2.4
2.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันไม่เกิน ร้อยละ5 3.เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ใน ระดับดี

 

0 0

3. ติดตามวัดความดันโลหิตสูงและเจาะเลือดในกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ดำเนินการติดตามวัดความดันโลหิตสูง และเจาะน้ำตาลในเลือดในกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ2.4
2.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกินร้อยละ5

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานรายใหม่ ไม่เกิน ร้อยละ 2.4 2.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันไม่เกิน ร้อยละ5
5.00

 

2 2.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 2.เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระดับดี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้อาหารเป็นยาตามหลักศาสนา และปอซอ 2.การออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ  3.ติดตามวัดความดันโลหิตสูง และเจาะน้ำตาลในเลือด ในกลุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (3) ติดตามวัดความดันโลหิตสูงและเจาะเลือดในกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานตามวิถีชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L2971-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยุพิน สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด