กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565 ”
ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์




ชื่อโครงการ โครงการลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2482-1-7 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2482-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ การสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชนอายุ 12-18 ปี มีปริมาณสูงขึ้นถึงปีละ 1 แสนคน และสถิติเด็กไทยที่ติดบุหรี่ 10 คน จะมีเด็กติดบุหรี่ 7 คน เนื่องจากสถานการณ์การสูบบุหรี่ในเด็กประถมศึกษาไทยกำลังน่าเป็นห่วง มีแนวโน้มการสูบบุหรี่สูงขึ้น ซึ่งจากการสำรวจของกรมอนามัยพบว่า เด็กอายุน้อยที่สุดเริ่มครั้งแรก อายุเพียง 9 ปี ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสูบบุหรี่ของเยาวชนมากที่สุด คือมีเพื่อนหรือคนรู้จักสอนให้สูบบุหรี่ และการมีคนในครอบครัวสูบบุหรี่รวมถึงการถูกใช้ให้ไปซื้อบุหรี่ เด็กขาดความรู้ความเข้าใจในพิษภัยของบุหรี่ การเลียนแบบจากสื่อภาพยนตร์ต่างๆที่ทำให้เด็กถูกชักจูงได้ง่ายจากกลยุทธ์การโฆษณา ในอดีตบุหรี่มี2 ชนิดคือ บุหรี่ที่ม้วนเอง และบุหรี่ที่ผลิตโดยเครื่องจักร ซึ่งบุหรี่ทั้งสองสามารถเป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งสิ้น ซึ่งบุหรี่ประเภทนี้ เป็นที่นิยมในกลุ่มนักสูบบุหรี่ทั่วไป ท้งเด็ก วัยรุ่น และวัยผู้ใหญ่ แต่ในปัจจุบันได้มีบุหรี่ไฟฟ้า ซึ่งมีวิวัฒนาการมาแล้วหลาย Generations โดยหลักๆ แล้วบุหรี่ไฟฟ้ามีด้วยกัน 2 ประเภท คือ Disposable E-cigarettes (บุหรี่ไฟฟ้าที่ใช้แล้วทิ้ง) Refillable E-cigarette (บุหรี่ไฟฟ้าชนิดเติมน้ำยา) ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมในกล่มเด็กวัยรุ่นทั่วไป รวมทั้งเด็กวัยรุ่นและวัยเด็กในเขตตำบลโฆษิตด้วยเช่นกัน บุคลากรทางสาธารณสุข รพ.สต.บ้านโคกมือบา มีความพยายามที่จะรณรงค์เพื่อควบคู่การบริโภคบุหรี่ ม่งเน้นให้เกิดการลดการสูบบุหรี่ในนักสูบหน้าใหม่กลุ่มเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการ ลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้นักเรียนได้รับรู้ทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
  2. เพื่อปลุกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย
  3. เพื่อลดการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษา
  4. เพื่อลดนักสูบหน้าใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรบนักเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  2. 1.1 จัดอบรมเรื่องความหมายของยาเสพติดและประเภทยาเสพติด
  3. 1.2 จัดอบรมเรื่องโทษของยาเสพติดประเภทต่างๆ
  4. 1.3 จัดอบรมเรื่องสาเหตุของการติดยาเสพติด
  5. 1.4 จัดอบรมเรื่องการแพร่ระบาดของยาเสพติดในโรงเรียน
  6. 1.5 จัดอบรมเรื่องป้องกันยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด 2.เยาวชนสามารถป้องกันตนเองไม่ให้เข้าไปข้องเกี่ยวกับสารเสพติดได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนเป็นเพียงกลุ่มคนส่วนน้อย เนื่องจากยาเสพติดสามารถระบาดในทุกเพศ และทุกกลุ่มวัยอายุ การกระตุ้นให้เด็กได้รู้โทษ อันตรายของยาเสพติด เป็นการช่วยป้องกันนักเสพหน้าใหม่ได้เพียงส่วนหนึ่ง แนวทางการแก้ไข คือ ปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาที่ละเอียดอ่อน ต้องอาศัยหน่วยงานต่างๆ หลายหน่วยงานในการแก้ไข และเดินไปพร้อมๆ กัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้นักเรียนได้รับรู้ทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
0.00

 

2 เพื่อปลุกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถบอกพฤติกรรมลดภาวะเสี่ยงการใช้สารเสพติดได้
0.00

 

3 เพื่อลดการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : โรงเรียนปลอดยาเสพติด
0.00

 

4 เพื่อลดนักสูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด : อัตรานักสูบหน้าใหม่ลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้นักเรียนได้รับรู้ทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด (2) เพื่อปลุกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย (3) เพื่อลดการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษา (4) เพื่อลดนักสูบหน้าใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรบนักเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (2) 1.1 จัดอบรมเรื่องความหมายของยาเสพติดและประเภทยาเสพติด (3) 1.2 จัดอบรมเรื่องโทษของยาเสพติดประเภทต่างๆ (4) 1.3 จัดอบรมเรื่องสาเหตุของการติดยาเสพติด (5) 1.4 จัดอบรมเรื่องการแพร่ระบาดของยาเสพติดในโรงเรียน (6) 1.5 จัดอบรมเรื่องป้องกันยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดผู้สูบหน้าใหม่ในเยาวชน ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2482-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด