กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการสมุนไพรไทยต้านภัยโควิด-19 ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายจิระวัฒน์ รัตนชล

ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรไทยต้านภัยโควิด-19

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5246-2-02 เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 เมษายน 2565 ถึง 15 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสมุนไพรไทยต้านภัยโควิด-19 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสมุนไพรไทยต้านภัยโควิด-19



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ พร้อมทั้งสาธิตการทำน้ำสมุนไพรแก้ไอ ฯลฯ (2) ฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและการปลูกพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) พบว่ายังมีการระบาดของโรคอยู่เป็นระยะในหลายพื้นที่ในจังหวัดสงขลา เพื่อเป็นการป้องกันและบรรเทาความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต มาตรการสำคัญคือการป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคด้วยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด อากาศไม่ถ่ายเท ไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยที่ไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือบ่อย ๆ สิ่งนี้ไม่ได้ป้องกันเฉพาะไวรัสโคโรนาเท่านั้น แต่ยังป้องกันโรคติดต่ออื่น ๆที่จะเกิดขึ้นได้ด้วย จากสถานการณ์การระบาดทำให้ประชาชนหันมาให้ความสำคัญกับการมีสุขภาพดี และแสวงหาวิธีการต่างๆเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค และสมุนไพรพื้นบ้านก็เป็นหนึ่งในทางเลือก อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร กระชาย ขิง เป็นต้น ซึ่งเป็นสมุนไพรที่มีคุณสมบัติเป็นยาป้องกัน ระงับ ยังยั้ง ต้านจุลินทรีย์ ลดการอักเสบ เสริมภูมิคุ้มกัน เพื่อเตรียมรองรับการแพร่ระบาดของโรคอื่นๆที่อาจจะอุบัติขึ้นใหม่ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อดูแลสุขภาพในภาวะวิกฤต โดยเฉพาะฟ้าทะลายโจรที่มีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กรณีที่ผู้ป่วยมีอาการแสดงไม่มาก เป็นการเตรียมความพร้อมของประชากรในพื้นที่ให้สามารถใช้พืชสมุนไพรได้ถูกต้อง และสามารถรักษาสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อีกทั้งเป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและพืชสมุนไพรของไทยที่มีมายาวนาน เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น จวบจนปัจจุบันได้มีการศึกษาวิจัยต่อยอดจนเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง มาเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาร่วมกับยาแผนปัจจุบัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ พร้อมทั้งสาธิตการทำน้ำสมุนไพรแก้ไอ ฯลฯ
  2. ฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและการปลูกพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) แต่ละชนิดอย่างถูกต้อง ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ พร้อมทั้งสาธิตการทำน้ำสมุนไพรแก้ไอ ฯลฯ

วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙  พร้อมทั้งสาธิตการทำน้ำสมุนไพรแก้ไอ ฯลฯ โดยวิทยากรนางสาวมาริสา  บินตะสอน ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน (รับผิดชอบงานในตำแหน่งของนักวิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเนียน ) ดำเนินการเมื่อวันที่ ๙  สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ณ. ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์  ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการ ๓๑  คน มีความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้สำหรับป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ โดยมีคะแนนการทำแบบทดสอบความรู้เปรียบเทียบก่อนและหลังการอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

 

30 0

2. ฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและการปลูกพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
  • ฝึกปฏิบัติการปลูกพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การผสมดินปลูกและให้ความรู้ นายนิกร  จันทร์งาม ปราชญ์ชาวบ้าน ดำเนินการเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๕  ณ  ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์ ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้ ๑. ผู้ร่วมโครงการกลับไปต่อยอดความรู้ด้วยการทำปลูกสมุนไพรที่ใช้ป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙  ไว้บริโภคเองในครัวเรือน โดยการทำแบบประเมินจากผู้เข้าอบรมจำนวน ๓๑ คน ผู้เข้าอบรมกลับไปทำทานเองจำนวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ  ๖๔.๕๒ ๒. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ด้านการทำน้ำหมักชีวภาพ การผสมดินปลูก และการทำปุ๋ยหมักเพิ่มมากขึ้น ๓. ผู้เข้าอบรมได้ลงมือปฏิบัติจริง

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ ๑ : กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ พร้อมทั้งสาธิตการทำน้ำสมุนไพรแก้ไอ ฯลฯ โดยวิทยากรนางสาวมาริสา บินตะสอน ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน (รับผิดชอบงานในตำแหน่งของนักวิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเนียน ) ดำเนินการเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ณ. ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์ ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการ ๓๑ คน มีความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้สำหรับป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ โดยมีคะแนนการทำแบบทดสอบความรู้เปรียบเทียบก่อนและหลังการอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

กิจกรรมที่ ๒ : กิจกรรมสาธิตและให้ความรู้เรื่องการผสมดินปลูก การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวิภาพ โดยวิทยากรสาธิต การผสมดินปลูกและให้ความรู้ นายนิกร จันทร์งาม ปราชญ์ชาวบ้าน ดำเนินการเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์ ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้

๑. ผู้ร่วมโครงการกลับไปต่อยอดความรู้ด้วยการทำปลูกสมุนไพรที่ใช้ป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ ไว้บริโภคเองในครัวเรือน โดยการทำแบบประเมินจากผู้เข้าอบรมจำนวน ๓๑ คน ผู้เข้าอบรมกลับไปทำทานเองจำนวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๕๒

๒. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ด้านการทำน้ำหมักชีวภาพ การผสมดินปลูก และการทำปุ๋ยหมักเพิ่มมากขึ้น

๓. ผู้เข้าอบรมได้ลงมือปฏิบัติจริง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีคะแนนการทำแบบทดสอบความรู้ เปรียบเทียบก่อนและหลังการอบรมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
0.00 100.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการกลับไปต่อยอดความรู้ด้วยการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน ร้อยละ 60
0.00 64.52

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 31
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30 31
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ พร้อมทั้งสาธิตการทำน้ำสมุนไพรแก้ไอ ฯลฯ (2) ฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและการปลูกพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสมุนไพรไทยต้านภัยโควิด-19 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5246-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจิระวัฒน์ รัตนชล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด