กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)หมู่ที่ 1 ต.เจ๊ะบิลัง

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5303-2-11 เลขที่ข้อตกลง 17/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5303-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ในปี 2563 -2564 ที่มีการติดเชื่อในประเทศ มีผู้เสียชีวิต จำนวน 59 ราย ผู้ที่เสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น ผู้สูงอายุ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ เป็นต้น ประกอบช่วงระบาดของโรค COVID-19 ทางรัฐบาลใช้มาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” ประชาชนมีพฤติกรรมอยู่ที่บ้าน ทำให้มีการออกกำลังกายน้อยลง รับประทานอาหารมากขึ้น จึงเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (DM) และโรคความดันโลหิตสูง (HT) ซึ่งเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม และที่สำคัญหากปล่อยให้กลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ เป็นโรคดังกล่าวข้างต้น เมื่อได้รับเชื้อ COVID-19 จะมีโอกาสเสียชีวิตสูง สถานการณ์ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ปีงบประมาณ 2563 และ 2564 พบผู้ป่วย จำนวน 30 คน และ 25 คน ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน  8 คน และ 10 คน ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้น จากผลการดำเนินงานคัดกรองค้นหาผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และการคัดกรองเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง หมู่ที่ 1 และ 5 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ในปีงบประมาณ 2564 (ที่มา HDC สตูล 30 กันยายน 64 ) พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง (ค่าควานดันโลหิต sbp >= 130 ถึง < 140 mmHg หรือ dbp มีค่า >= 85 ถึง < 90 mmHg) จำนวน 40 คน และกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง (ค่าควานดันโลหิต sbp มีค่า >= 140 ถึง < 180 mmHg หรือ dbp มีค่า >= 90 ถึง < 110 mmHg) จำนวน 24 คน และพบกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน รวมทั้งสิ้น 114 คน ซึ่งในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยหากได้รับการให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพ ไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานต่อไป จากสภาพปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 256๕ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในการดูแลตนเองในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน ในคลินิกของหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง สามารถลดระดับความดันโลหิต และลดระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 4. กิจกรรมที่ 4 กลุ่มสงสัยป่วยวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน รายวัน เช้า-เย็น 7 วันติดต่อกัน
  2. 5.กิจกรรมที่ 5 กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจวัดระดับน้ำตาล ทุก 2 เดือ
  3. 6.กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการพร้อมแบบรายงานหรือบัญชีรายชื่อผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
  4. 1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจง และประชาสัมพันธ์รายละเอียดโครงการ
  5. 2. กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  6. 3. กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 164
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโอกาสเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 4. กิจกรรมที่ 4 กลุ่มสงสัยป่วยวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน รายวัน เช้า-เย็น 7 วันติดต่อกัน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มสงสัยป่วยวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน รายวัน เช้า-เย็น 7 วันติดต่อกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโอกาสเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

 

24 0

2. 5.กิจกรรมที่ 5 กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจวัดระดับน้ำตาล ทุก 2 เดือน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจวัดระดับน้ำตาล ทุก 2 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโอกาสเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

 

50 0

3. 6.กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการพร้อมแบบรายงานหรือบัญชีรายชื่อผู้ที่เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการพร้อมแบบรายงานหรือบัญชีรายชื่อผู้ที่เข้าร่วมโครงการ (ตามภาคผนวก) ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเจ๊ะบิลัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโอกาสเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

 

0 0

4. 1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจง และประชาสัมพันธ์รายละเอียดโครงการ

วันที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง และประชาสัมพันธ์รายละเอียดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโอกาสเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

 

0 0

5. 2. กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย โรคความดันโลหิตสูงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโอกาสเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

 

64 0

6. 3. กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

วันที่ 13 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโอกาสเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง สามารถลดระดับความดันโลหิต และลดระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 60 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถลดความดันโลหิตได้มากกว่า 4 mmHg. - ร้อยละ 60 กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน สามารถลดค่าน้ำตาลในเลือดได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 164
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 164
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง สามารถลดระดับความดันโลหิต และลดระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 4. กิจกรรมที่ 4 กลุ่มสงสัยป่วยวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน รายวัน เช้า-เย็น 7 วันติดต่อกัน (2) 5.กิจกรรมที่ 5 กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจวัดระดับน้ำตาล ทุก 2 เดือ (3) 6.กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการพร้อมแบบรายงานหรือบัญชีรายชื่อผู้ที่เข้าร่วมโครงการ (4) 1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจง และประชาสัมพันธ์รายละเอียดโครงการ (5) 2. กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (6) 3. กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5303-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)หมู่ที่ 1 ต.เจ๊ะบิลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด