กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ด้วยพลังเครือข่ายสุขภาพ ปี 2565 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลิซา (บ้านกาหนั๊วะ)

หัวหน้าโครงการ
นางนิด๊ะห์ ดือเร๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ด้วยพลังเครือข่ายสุขภาพ ปี 2565

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลิซา (บ้านกาหนั๊วะ) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2502-65-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ด้วยพลังเครือข่ายสุขภาพ ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลิซา (บ้านกาหนั๊วะ)

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ด้วยพลังเครือข่ายสุขภาพ ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ด้วยพลังเครือข่ายสุขภาพ ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลิซา (บ้านกาหนั๊วะ) รหัสโครงการ L2502-65-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 93,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคเรื้อรังซึ่งเกิดจากพันธุกรรมและพฤติกรรมสุขภาพที่มีความเสี่ยงจากการบริโภคอาหารการสูบบุหรี่การดื่มสุรา การไม่ออกกำลังกายความเครียด โรคอ้วนโรคเรื้อรังดังกล่าวเป็นโรคที่ต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงถ้าไม่ได้รับการดูแลอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการ มีอายุที่มากขึ้น คือ ๓๕ ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็น ต้องรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา จากการดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลิซา(บ้านกาหนั๊วะ)  พบว่า ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน ๔๓๔ ราย และกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยเป็น    โรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๓๒๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๔.๙ และ ๓๔.๔ ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นว่ากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชากร อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป พบผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 33 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 401 คน และป่วยด้วยโรคเบาหวานและความโลหิตสูงร่วมด้วย จำนวน 142 คน ซึ่งมีจำนวนค่อนข้างมากและเป็นปัญหาสำคัญในขณะนี้ ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลิซา(บ้านกาหนั๊วะ) จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังด้วยพลังเครือข่ายสุขภาพปี ๒๕๖5 ขึ้น เพื่อขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการป้องกันและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคและผลกระทบจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้าและสุขภาพในช่องปาก ตามมาตรฐาน
  2. เพื่อค้นหา ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชนและการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามมาตรฐาน
  3. เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้การบริโภค และพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง สามารถควบคุมความเสี่ยงได้
  4. เพื่อให้ประชาชนผู้เสี่ยงสูงได้รับความรู้ การออกกำลังกาย และทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 2,230
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 550
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาระโรค Metabolic ๒.ประชาชนตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม ๓.ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค Metabolic ๔.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นสภาพร่างกายแข็งแรงจนสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ในที่สุด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้าและสุขภาพในช่องปาก ตามมาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    0.00

     

    2 เพื่อค้นหา ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชนและการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามมาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับคัดกรองความดันโลหิต เบาหวาน ร้อยละ ๙๕
    0.00

     

    3 เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้การบริโภค และพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง สามารถควบคุมความเสี่ยงได้
    ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่มีภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ ๑๐๐
    0.00

     

    4 เพื่อให้ประชาชนผู้เสี่ยงสูงได้รับความรู้ การออกกำลังกาย และทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า ตามมาตรฐาน - ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ร้อยละ ๖๐ - ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ร้อยละ ๗๐ - ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง ร้อยละ ๙๐ - ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สูบบุหรี่ต้องเข้าถึงคลินิกเลิกบุหรี่ ร้อยละ ๑๐๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2780
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 2,230
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 550
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้าและสุขภาพในช่องปาก    ตามมาตรฐาน (2) เพื่อค้นหา ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชนและการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามมาตรฐาน (3) เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงมีความรู้การบริโภค และพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง สามารถควบคุมความเสี่ยงได้ (4) เพื่อให้ประชาชนผู้เสี่ยงสูงได้รับความรู้ การออกกำลังกาย และทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ด้วยพลังเครือข่ายสุขภาพ ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ L2502-65-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิด๊ะห์ ดือเร๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด