กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2565 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนิด๊ะห์ ดือเร๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2565

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2502-65-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2502-65-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทย พบว่า ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน เป็นต้น ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งมาจากการใช้และบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย เช่นการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อน อาหารที่ไม่มีมาตรฐาน และการใช้ยาที่ไม่ปลอดภัย เครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้น ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้แก่ยา อาหาร เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตรายในบ้านเรือนและ วัตถุเสพติด เป็นสิ่งที่ประชาชนบริโภคตั้งแต่ตื่นนอนจนเข้านอน การบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพหรือบริโภคไม่ถูกต้องเหมาะสม ล้วนนำมาซึ่งความเจ็บป่วยและที่ร้ายแรงอาจนำมาถึงขั้นเสียชีวิต เช่นอาหารปนเปื้อนสารห้ามใช้หรือมีจุลินทรีที่ทำให้เกิดโรค เครื่องสำอางที่มีสารห้ามใช้ การใช้ยาผิดหรือใช้ยาที่ไม่มีคุณภาพ มาตรฐาน ยาปลอม การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขณะเดียวกันเทคโนโลยีมีความก้าวหน้า ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วทางอินเตอร์เน็ต การโฆษณาทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์และสิ่งพิมพ์ต่างๆ ทำให้เกิดความเสี่ยงจากการบริโภคยาที่ไม่มีทะเบียน ยาปลอม รวมถึงการบริโภคยาโดยไม่อยู่ในการดูแลของแพทย์หรือเภสัชกร นอกจากนี้ยังพบว่าร้านชำในชุมชนมีการจำหน่ายยาชุดยาอันตรายและยาลูกกลอนที่มีการนำสเตียรอยด์มาผสม เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นยาที่ดี รักษาโรคได้หายทันใจ ทำให้ประชาชนได้รับพิษจากเสตียรอยด์รวมถึงปัจจุบันมีการแข่งขันที่สูงในทางการค้าทำให้มีการโฆษณาในลักษณะที่โอ้อวดเกินความจริงหรือทำให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญ ผลที่ตามมาคือเกิดการบริโภคที่ไม่เหมาะสม เช่นคนที่มีปัญหาด้านสุขภาพที่ต้องได้รับการรักษาดูแลต่อเนื่อง เมื่อหลงเชื่อโฆษณาหันมาบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีการโฆษณาแล้วละเลยวิธีการรักษาที่ถูกต้อง อาจทำให้โรคมีความรุนแรงขึ้นจนเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ปัญหาที่กล่าวมาแล้วข้างต้นส่วนใหญ่ล้วนเกิดจากการบริโภคทั้งสิ้น หากผู้บริโภคขาดความรู้เกี่ยวกับการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม ปลอดภัยหรือขาดความตระหนักในสิทธิของผู้บริโภค
ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลิซา ได้เล็งเห็นถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชนและลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภค ได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2565 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆในชุมชนได้มีความรู้ และมีส่วนร่วมในการติดตามเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ประชาชนต้องบริโภคและใช้ในชีวิตประจำวัน จนเกิดความตระหนักในสิทธิของผู้บริโภค สามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ผู้บริโภคมีความปลอดภัยไม่เกิดการเจ็บป่วยด้วยสาเหตุจากการบริโภค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ
  2. พัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ
  3. เพื่อเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพใน สถานประกอบการ ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครัวเรือนให้มีการจำหน่ายและใช้สินค้าที่มีคุณภาพ มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 198
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ประกอบการมีการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานมากขึ้น 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจผลิตภัณฑ์สุขภาพและพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องไม่หลงเชื่อโฆษณาที่มีลักษณะโอ้อวบเกินจริง 3.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหาร การขายยาอันตรายในชุมชนและไม่พบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายด้านคุ้งครองผู้บริโภค


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ
    ตัวชี้วัด : ๑.จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมร้อยละ 80 มีทักษะในการเลือกสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. ผู้จำหน่ายร้านชำมีความรู้ด้านผลิตภัณฑ์ 3 ข้อ
    0.00

     

    2 พัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ
    ตัวชี้วัด : ๑.มีทะเบียนชมรมสมาชิกเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ๒.มีแผนที่ชุมชน ๓.มีแผนการ/โครงการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค
    0.00

     

    3 เพื่อเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพใน สถานประกอบการ ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครัวเรือนให้มีการจำหน่ายและใช้สินค้าที่มีคุณภาพ มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ๑.มีการตรวจสารปนเปื้อนอาหารอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี ๒.ร้อยละร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน ใน ศพด. ได้รับการตรวจตามเกณฑ์มาตรฐาน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 198
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 198
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ (2) พัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ (3) เพื่อเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพใน สถานประกอบการ ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย  โรงอาหารในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครัวเรือนให้มีการจำหน่ายและใช้สินค้าที่มีคุณภาพ มาตรฐาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ L2502-65-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิด๊ะห์ ดือเร๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด