กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนขยะทองคำ นำสุขภาพสู่คนชะมวง
รหัสโครงการ 65-50105-02-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมคนชะมวงรักษ์สิงแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 28 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 55,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเพ็ญพร เพชรหัวบัว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8509 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
100.00
2 จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
1,000.00
3 จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
0.00
4 จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
13.00
5 จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
5.00
6 จำนวนเงินที่ อปท.ใช้เพื่อการกำจัดขยะในชุมชน(บาท/ปี)
800,000.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)ประมาณ 2 กิโลกรัมต่อวันต้องการลดปริมาณขยะในครัวเรือนให้ได้ ร้อยละ 30
ขยะอินทรีย์ร้อยละ60
ขยะทั่วไปร้อยละ 20
ขยะรีไซเคิล ร้อยละ 15 ขยะอันตราย ร้อยละ 5

100.00 30.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)1000ครัวเรือน
ต้องการเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการคัดแยกขยะอีก 500 ครัวเรือน

1000.00 1500.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน) จำนวน 16 ครัวเรือน
ต้องการเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบอีก 16 ครัวเรือน

0.00 16.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)จัดการขยะที่ถูกต้อง 5 แห่ง
ต้องการเพิ่มหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะอีก 3 แห่ง

5.00 8.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง) จำนวน 13 แห่ง
ต้องการเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะอีก 3 หมู่บ้าน

13.00 16.00
6 เพื่อบริหารงบประมาณในการจัดการขยะ

จำนวนเงินที่ อปท.ใช้เพื่อการกำจัดขยะในชุมชน(บาท/ปี)จำนวน 800000 บาท
ต้องการลดงบประมาณในการบริหารจัดการขยะลง 300000 บาท

800000.00 500000.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 650 55,050.00 2 54,750.00
22 มิ.ย. 65 ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน 0 0.00 -
30 มิ.ย. 65 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 0 0.00 -
1 ก.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน 0 0.00 -
1 ก.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ 0 0.00 -
3 ต.ค. 65 - 15 มี.ค. 66 เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) 0 0.00 -
10 ต.ค. 65 - 30 พ.ย. 65 ให้ความรู้การคักแยกขยะ 400 37,600.00 37,600.00
16 พ.ย. 65 - 16 เม.ย. 66 รณรงค์ BIG CLEANING DAY 0 0.00 -
23 พ.ย. 65 ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลชะมวง” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง 0 0.00 -
11 ส.ค. 66 เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน 250 17,450.00 17,150.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ถูกต้อง
  2. มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน "ธรรมนูญสุขภาพตำบลชะมวง"
  3. มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 16 ครัวเรือน
  4. ปริมาณขยะที่องค์การบริหารส่วนตำบลชะมวงจัดเก็บลดลงร้อยละ 30
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 เม.ย. 2565 11:14 น.