กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการโรงเรียนขยะทองคำ นำสุขภาพสู่คนชะมวง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

ชมรมคนชะมวงรักษ์สิงแวดล้อม

1. นางจารุวรรณ ขุนจันทร์
2. นายพาดอน ชูทับ
3. นางสาวยุวดี เกื้อรุ่ง
4. นางสาคร ปลอดพลัด
5. นางเพ็ญพร เพชรหัวบัว

ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

 

100.00
2 จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

 

1,000.00
3 จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

 

0.00
4 จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

 

13.00
5 จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

 

5.00
6 จำนวนเงินที่ อปท.ใช้เพื่อการกำจัดขยะในชุมชน(บาท/ปี)

 

800,000.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)ประมาณ 2 กิโลกรัมต่อวันต้องการลดปริมาณขยะในครัวเรือนให้ได้ ร้อยละ 30
ขยะอินทรีย์ร้อยละ60
ขยะทั่วไปร้อยละ 20
ขยะรีไซเคิล ร้อยละ 15 ขยะอันตราย ร้อยละ 5

100.00 30.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)1000ครัวเรือน
ต้องการเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการคัดแยกขยะอีก 500 ครัวเรือน

1000.00 1500.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน) จำนวน 16 ครัวเรือน
ต้องการเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบอีก 16 ครัวเรือน

0.00 16.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)จัดการขยะที่ถูกต้อง 5 แห่ง
ต้องการเพิ่มหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะอีก 3 แห่ง

5.00 8.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง) จำนวน 13 แห่ง
ต้องการเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะอีก 3 หมู่บ้าน

13.00 16.00
6 เพื่อบริหารงบประมาณในการจัดการขยะ

จำนวนเงินที่ อปท.ใช้เพื่อการกำจัดขยะในชุมชน(บาท/ปี)จำนวน 800000 บาท
ต้องการลดงบประมาณในการบริหารจัดการขยะลง 300000 บาท

800000.00 500000.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8,509
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/04/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ทำหนังสือเชิญคณะทำงานเข้าร่วมปรึกษาหารือกัน
ใช้งบสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 46 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2300 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 46 คนๆ ละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3680 บาท
3.ค่าวัสดุ เป็นเงิน 1000 บาท
4.ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 มิถุนายน 2565 ถึง 22 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะทำงานเข้าร่วมประชุมอย่างน้อย ร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก ๆ 2 เดือน
ใช้งบสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 46 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 5 ครั้ง เป็นเงิน 5750 บาท
2.ค่าวัสดุ เป็นเงิน 2000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เพื่อออกแบบเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล   วิเคราะห์ ประเมิน และรายงานผล

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)

ชื่อกิจกรรม
เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมเพื่อประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) จำนวน 2 ครั้งครั้งที่ 1 เดือนตุลาคม 2565 ครั้งที่ 2 เดือนมีนาคม 2566
เป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 46 คน ประกอบไปด้วย คณะทำงาน/สมาชิกโครงการ/ภาคีเครือข่าย
ใช้งบสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 46 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,300 บาท
2.ค่าวัสดุ เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 15 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประสานพื้นที่ศึกษาดูงานที่มีความสำเร็จการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
  • นำคณะทำงานร่วมศึกษาดูงาน
  • สรุปผลการศึกษาดูงาน ค่าใช้จ่าย
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 46 คน ๆ ละ 40 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3,680 บาท
  2. ค่าอาหารจำนวน 46 คน ๆ ละ 120 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 5,520 บาท
  3. ค่าประสานงาน เป็นเงิน 500 บาท
  4. ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 4 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
  5. ค่าเช่ารถบัส 1 วัน ๆ ละ 12,000 บาท รวมน้ำมัน เป็นเงิน 12,000 บาท ใช้งบสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มิถุนายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะทำงานได้รับความรู้ในการลงศึกษาดูงานในสถานที่จริง และนำผลที่ได้ศึกษามาปรับกลยุทธ์ให้กับของเรา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ให้ความรู้การคักแยกขยะ

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้การคักแยกขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. คัดเลือกวิทยากรเป็นทีมสร้างแรงจูงใจ สาธิตการจัดการขยะ และสร้างการเรียนรู้
  2. สร้างการเรียนรู้ตามแนวทาง 3 R
  3. จัดหาวัสดุเพื่อการสาธิตการจัดการขยะ สร้างการเรียนรู้ ดังนี้

- ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ด้วยการเลี้ยงไส้เดือนดิน
- ชุดสาธิตการจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล - กิจกรรมขยะแลกไข่ เดือนละ 1 ครั้ง 4. ร่วมสำรวจและกำหนดเส้นทางเดินขยะทุกประเภท
5. รับฟังความเห็นทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลชะมวงประเด็นขยะ
6. ตัวแทนครัวเรือนนำร่อง/ครู/นักเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/เจ้าของปั้มน้ำมัน/ร้านค้า รวม 500 คน เข้าร่วมกิจกรรม
ค่าใช้จ่าย 1.ค่าตอบแทนวิทยากรฯ ชม.ๆ ละ 300 บาท จำนวน 3 ชม. จำนวน 8 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บาท
2.ค่าวัสดุการสาธิตเพื่อการเรียนรู้ครั้งละ 2250 จำนวน 8 ครั้ง เป็นเงิน 18,000 บาท
3.ค่าอาหารว่างฯ จำนวน 400 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
4.ค่าประสานงาน ครั้งละ 300 บาท จำนวน 8 ครั้ง เป็นเงิน 2,400 บาท
ใช้งบกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชะมวง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
37600.00

กิจกรรมที่ 6 รณรงค์ BIG CLEANING DAY

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ BIG CLEANING DAY
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาด 2 ข้างทางถนนสายหลักในหมู่บ้าน จำนวน 4 สาย ค่าใช้จ่าย 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 50 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 5,000 บาท
2.ค่าป้ายกิจกรรม เป็นเงิน 1,000 บาท
ใช้งบสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 มกราคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 7 ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลชะมวง” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลชะมวง” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คณะทำงานนัดประชุมนำความเห็นจากการลงพื้นที่ทุกหมู่บ้านมาสรุปและทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลชะมวงประเด็นขยะ
ใช้งบจากกิจกรรมที่ 2 การประชุมของคณะทำงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 พฤศจิกายน 2565 ถึง 23 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 8 คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ

ชื่อกิจกรรม
คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. คณะทำงานติดตามการเก็บข้อมูลขยะจากเป็นระยะ ทุกเดือนและวิเคราะห์ผลนำไปคืนข้อมูลให้กับชุมชนทราบ
  2. คณะทำงานเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของขยะในเชิงปริมาณและเชิงพฤกติกรรม จำนวน 2 ครั้ง ก่อนและหลังการ
    ใช้งบจากกิจกรรมที่ 2 การประชุมของคณะทำงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 9 เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

ชื่อกิจกรรม
เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. คณะทำงานจัดการขยะตำบลเข้าร่วม46 คน ตัวแทนครัวเรือน ผู้นำท้องถิ่น ท้องที่ และภาคีร่วม
    จำนวน 204 คนรวมทั้งสิ้น250 คน
  2. วิทยากรดำเนินการเพื่อสร้างกระบวนการคืนข้อมูลการสร้างความร่วมมือการจัดการขยะตำบลชะมวง
  3. ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบนำเสนอแนวทาง รูปแบบจัดการขยะครัวเรือน
  4. ผู้ใหญ่บ้านต้นแบบ หน่วยงานต้นแบบ นำเสนอ แนวทาง รูปแบบจัดการขยะหมู่บ้าน และหน่วยงาน
  5. ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ คณะทำงาน ร่วมประกาศสัญญาประชาคมการจัดการขยะตำบลชะมวง
  6. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล และกำนันตำบลชะมวง ร่วมกันรับแผนจัดการขยะตำบลชะมวง จากผู้แทนคณะทำงานตามโครงการ
    ค่าใช้จ่าย 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 250 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 6,250 บาท
    2.ค่าจัดชุดนิทรรศการ เป็นเงิน 10,000 บาท
    3.ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,200 บาท
    ใช้งบกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชะมวง
ระยะเวลาดำเนินงาน
29 มีนาคม 2566 ถึง 29 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 55,050.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ถูกต้อง
2. มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน "ธรรมนูญสุขภาพตำบลชะมวง"
3. มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 16 ครัวเรือน
4. ปริมาณขยะที่องค์การบริหารส่วนตำบลชะมวงจัดเก็บลดลงร้อยละ 30


>