กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการชุมชนจัดการขยะรักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565 ”

ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมะยูโซ๊ะ สาแลแม

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนจัดการขยะรักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2485 เลขที่ข้อตกลง 21

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 ธันวาคม 2565 ถึง 27 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนจัดการขยะรักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนจัดการขยะรักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนจัดการขยะรักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2485 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 ธันวาคม 2565 - 27 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านเกาะยาว หมู่ที่ 1 ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส มีหลังคาเรือนทั้งหมด 120 หลังคาเรือน    มีประชากร 683 คน และมีปริมาณขยะ 0.77 ตัน/วัน ซึ่งมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชน หากคิดเฉลี่ยเป็นรายบุคคล ปริมาณขยะจะอยู่ที่ 1.14 กิโลกรัม/คน/วัน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชน เช่น ชุมชนสกปรกไม่น่ามอง ทัศนียภาพเสีย ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และพาหนะนำโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค โรคอุจจาระร่วง โรคบิด โรคผิวหนัง โรคบาดทะยัก โรคระบบทางเดินหายใจและเกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำ ทำให้แหล่งน้ำเน่าเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน ซึ่งเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วมและเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะและเกิดก๊าชมีเทนจากการฝังกลบขยะ ขยะบางชนิดไม่ย่อยสลายและกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม  การร่วมกันริเริ่มดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน โดยการสร้างกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน ตลอดจนมีการจัดตั้งองค์กรชุมชนในการบริหารจัดการขยะโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และก่อให้เกิดการสร้างรายได้ควบคู่การสร้างจิตสานึกต่อการรักษ์บ้านเกิดของคนในชุมชน  นอกจากจะเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน  และยังเป็นการลดปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัด ทำให้ช่วยลดปรากฎการณ์เรือนกระจก (Green House Effect) ลดปริมาณก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีผลให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้นตามมา หรือเรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Globel Warmming)
      ดังนั้น กลุ่มเกาะยาวสามัคคี หมู่ที่ 1 บ้านเกาะยาว ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จึงได้จัดทำโครงการชุมชนจัดการขยะรักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565 ขึ้น เพื่อให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะ ส่งผลทำให้ชุมชนเกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน เกิดความร่วมมือของหมู่บ้าน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการบริหารจัดการขยะแบบคัดแยกจากต้นกำเนิด และจัดการขยะอย่างเป็นระบบและถูกหลักสุขาภิบาล ส่งผลให้เป็นชุมชนต้นแบบแห่งการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนอย่างแท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
  2. เพื่อให้ประชาชนเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย
  3. เพื่อให้ชุมชนมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน
  4. ทุกหลังคาเรือนมีและใช้ถังขยะเปียกลดโลกร้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องขยะมูลฝอยและการกำจัดขยะที่ต้นทาง
  2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องขยะมูลฝอย สาธิตและฝึกปฎิบัติการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง     2. ประชาชนเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย
        3. ชุมชนบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน     4. ทุกหลังคาเรือน มีและใช้ถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องขยะมูลฝอย สาธิตและฝึกปฎิบัติการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง

วันที่ 27 ธันวาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ         2. ประชุมชี้แจงและวางแผนการดำเนินโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง         3. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องขยะมูลฝอย         4. สาธิตและฝึกปฎิบัติการคัดแยกขยะที่ต้นทาง         5. สาธิตและฝึกปฏิบัติการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน
            6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
  2. ประชาชนเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย
  3. ชุมชนบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน
  4. ทุกหลังคาเรือน มีและใช้ถังขยะเปียกลดโลกร้อน

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอย จำนวน 120 คน ร้อยละ 100
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด : ประชาชนเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย จำนวน 120 คน ร้อยละ 100
0.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน จำนวน 1 ชุมชน
0.00

 

4 ทุกหลังคาเรือนมีและใช้ถังขยะเปียกลดโลกร้อน
ตัวชี้วัด : หลังคาเรือน จำนวน 120 หลังคาเรือน มีและใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง (2) เพื่อให้ประชาชนเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย (3) เพื่อให้ชุมชนมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (4) ทุกหลังคาเรือนมีและใช้ถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องขยะมูลฝอยและการกำจัดขยะที่ต้นทาง (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องขยะมูลฝอย สาธิตและฝึกปฎิบัติการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนจัดการขยะรักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2485

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะยูโซ๊ะ สาแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด