โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565 ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางยูไวรียะ ยูนุ๊
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565
ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 26
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุข ให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ทำให้ประชาชนเกิดการตื่นตระหนกกันทั่วโลกร่วมถึงประเทศไทยด้วย พบว่าโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) มีการระบาดไปยังหลายประเทศ ทั่วโลก มีผู้ติดเชื้อเเละเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจอย่างรุนเเรงสถานการณ์การเเพร่ระบาดกระจายไปยังทุกพื้นที่ ยังไม่สามารถควบคุมการเเพร่ระบาดได้เเละมีเเนวโน้นว่าอาจจะมีการระบาดเพิ่มมากขึ้น ส่วนในจังหวัดยะลา พบว่ามีผู้ติดเชื้อยืนยันสะสมจำนวน 9,420 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 77 ราย เป็นการติดเชื้อสัมผัสผู้ติดเชื้อในประเทศเเละติดเชื้อที่บ้านมาจากการติดเชี้อจากชุมชนการทำกิจกรรมรวมกัน ของคนจำนวนมาก เช่น วัดมัสยิด และ โรงเรียนมีความสำคัญอย่างยิ่ง ด้วยการรักษาสุขภาพร่างกายให้เเข็งเเรงออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และมาตรการการป้องกันที่ดีที่สุด ได้เเก่ หลีกเหลี่ยงการเดินทางไปยังงพื้นที่เสี่ยงที่มีกรระบาดของโรค การเว้นระยะทางอย่างน้อย 2 เมตร การใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าอย่างถูกวิธี การล้างมือให้สะอาดด้วยเอลกอฮอล์ เจลหรือสบู่ เเละตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย จากเหตุผลข้างต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารูได้เล็งถึงความสำคัญเเละตระหนักถึงภาวะสุขภาพขอนักเรียนในโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100
2 . แกนนำนักเรียนมีความรู้ สามารถถ่ายทอดให้กันเพื่อนนักเรียนได้
- แกนนำนักเรียนสามารถแยกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง และปได้รับการตรวจคัดกรอง ติดตาม สุขภาพอย่างเหมาะสม
4.นักเรียน มีสุขภาวะที่ดี เเละปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้
วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ลงทะเบียน
2.พิธีเปิดโครงการ
3.บรรยายเรื่อง ความรู้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
4.บรรยายเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) เกิดขึ้นอย่างไร ข้อแตกต่างกับไข้อื่นๆ
5.บรรยายเรื่อง จะปกป้องควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ได้อย่างไรถึงจะได้ผล
6.ซักถามข้อสงสัย/ร่วมกันสรุปการอบรม/ปิดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.แกนนำนักเรียนมีความรู้ สามารถถ่ายทอดให้กับเพื่อนนักเรียนได้
2.แกนนำนักเรียนสามารถแยกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง และได้รับการตรวจคัดกรอง ติดตามสุขภาพอย่างเหมาะสม
3.นักเรียน มีสุขภาวะที่ดี และปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางยูไวรียะ ยูนุ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565 ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางยูไวรียะ ยูนุ๊
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 26
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุข ให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ทำให้ประชาชนเกิดการตื่นตระหนกกันทั่วโลกร่วมถึงประเทศไทยด้วย พบว่าโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) มีการระบาดไปยังหลายประเทศ ทั่วโลก มีผู้ติดเชื้อเเละเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจอย่างรุนเเรงสถานการณ์การเเพร่ระบาดกระจายไปยังทุกพื้นที่ ยังไม่สามารถควบคุมการเเพร่ระบาดได้เเละมีเเนวโน้นว่าอาจจะมีการระบาดเพิ่มมากขึ้น ส่วนในจังหวัดยะลา พบว่ามีผู้ติดเชื้อยืนยันสะสมจำนวน 9,420 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 77 ราย เป็นการติดเชื้อสัมผัสผู้ติดเชื้อในประเทศเเละติดเชื้อที่บ้านมาจากการติดเชี้อจากชุมชนการทำกิจกรรมรวมกัน ของคนจำนวนมาก เช่น วัดมัสยิด และ โรงเรียนมีความสำคัญอย่างยิ่ง ด้วยการรักษาสุขภาพร่างกายให้เเข็งเเรงออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และมาตรการการป้องกันที่ดีที่สุด ได้เเก่ หลีกเหลี่ยงการเดินทางไปยังงพื้นที่เสี่ยงที่มีกรระบาดของโรค การเว้นระยะทางอย่างน้อย 2 เมตร การใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าอย่างถูกวิธี การล้างมือให้สะอาดด้วยเอลกอฮอล์ เจลหรือสบู่ เเละตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย จากเหตุผลข้างต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารูได้เล็งถึงความสำคัญเเละตระหนักถึงภาวะสุขภาพขอนักเรียนในโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100
2 . แกนนำนักเรียนมีความรู้ สามารถถ่ายทอดให้กันเพื่อนนักเรียนได้
- แกนนำนักเรียนสามารถแยกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง และปได้รับการตรวจคัดกรอง ติดตาม สุขภาพอย่างเหมาะสม 4.นักเรียน มีสุขภาวะที่ดี เเละปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ลงทะเบียน 2.พิธีเปิดโครงการ 3.บรรยายเรื่อง ความรู้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) 4.บรรยายเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) เกิดขึ้นอย่างไร ข้อแตกต่างกับไข้อื่นๆ 5.บรรยายเรื่อง จะปกป้องควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ได้อย่างไรถึงจะได้ผล 6.ซักถามข้อสงสัย/ร่วมกันสรุปการอบรม/ปิดโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.แกนนำนักเรียนมีความรู้ สามารถถ่ายทอดให้กับเพื่อนนักเรียนได้ 2.แกนนำนักเรียนสามารถแยกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง และได้รับการตรวจคัดกรอง ติดตามสุขภาพอย่างเหมาะสม 3.นักเรียน มีสุขภาวะที่ดี และปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชี้อไวรัสโคโรน่า 2019 COVID 19 ในโรงเรียนประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางยูไวรียะ ยูนุ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......