กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สูงเม่น


“ ส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพในชุมชนบ้านโตน ปี 2565 ”

ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพในชุมชนบ้านโตน ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพในชุมชนบ้านโตน ปี 2565 จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สูงเม่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพในชุมชนบ้านโตน ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพในชุมชนบ้านโตน ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สูงเม่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติที่กำหนดสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนประชากร ซึ่งจะเข้าสู่สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete - Aging Society) เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 20 และเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super - Aging Society)หาก สัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 28 ตามลำดับ สำหรับสถานการณ์ผู้สูงอายุในเขต. รพ.สต. บ้านโตน จากข้อมูล ผู้สูงอายุ ในพื้นที่มีจำนวน ทั้งหมด 746 คน คิดเป็นร้อยละ 31ของประชากรที่อาศัยอยู่จริงเป็นสังคมผู้สูงอายุ ระดับสุดยอดและยังพบว่า ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จากจำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่ายสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เพิ่มมากขี้นสิ่งเหล่านี้คือความจำเป็นที่ต้องสร้างระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวขึ้นมารองรับเนื่องจากวัยสูงอายุ เป็นช่วงวัยที่มีการเสื่อมลงของสภาพร่างกาย โดยเฉพาะ ปัญหาสมองเสื่อม ปัญหาข้อเข่าเสื่อม ทำให้มีการทรงตัว และการเคลื่อนไหวผิดปกติ ผลที่ตามมาคือ เสี่ยงต่อการเกิดพลัดตกหกล้ม ทำให้การเคลื่อนไหวช้าลงและมีปัญหาสูญเสียความมั่นใจในการทำกิจกรรม
จากการสำรวจและคัดกรองสุขภาพประจำปี ของผู้สูงอายุ ในพื้นที่ พบว่า ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมจะมีปัญหาด้านการดำเนินกิจวัตรประจำวัน เช่น การเคลื่อนไหวช้า ปัญหาข้อเข่าเสื่อมไปตามวัยปัญหาด้านสุขภาพในช่องปากส่งผลต่อการรับประทานอาหารและภาวะหลงลืม ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภายใต้นโยบาย ของจังหวัดแพร่ ปี 2565 ในการขับเคลื่อนกิจกรรมในผู้สูงอายุไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวลำ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย (GOAL) “ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข ในการดำรงชีพ ลดภาระต่อครอบครัว ชุมชน ลงได้ ทางรพ.สต. บ้านโตนได้ตระหนักถึงความสำคัญและปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริม สุขภาวะผู้สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ในชุมชนบ้านโตน เพื่อ ขับเคลื่อนระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาวในปี 2565

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
  2. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มพูนทักษะผู้ดูแลผู้สูงอายุได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเสริมความรอบรู้แกนนำอสม.ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุภายใต้นโยบายของจังหวัด แพร่ ไม่ล้ม ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวลำ
  2. ประชุมส่งเสริมความรอบรู้ ให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มที่ มีปัญหาเรื่องข้อเข่า มีภาวะหลงลืมอาศัยอยู่เพียงลำพัง และ มีปัญหาด้านช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 746
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
  2. ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน มีความรอบรู้ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาวได้
  3. ผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์การประเมินมีการปฏิบัติตัว ลดความเสี่ยงต่อการไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซืมเศร้า กินข้าวลำได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มพูนทักษะผู้ดูแลผู้สูงอายุได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 776
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 746
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (2) เพื่อพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มพูนทักษะผู้ดูแลผู้สูงอายุได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเสริมความรอบรู้แกนนำอสม.ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุภายใต้นโยบายของจังหวัด แพร่  ไม่ล้ม  ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวลำ (2) ประชุมส่งเสริมความรอบรู้ ให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มที่ มีปัญหาเรื่องข้อเข่า มีภาวะหลงลืมอาศัยอยู่เพียงลำพัง และ มีปัญหาด้านช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพในชุมชนบ้านโตน ปี 2565 จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด