กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สูงเม่น


“ ส่งเสริมครอบครัวเป็นฐานจัดการความรอบรู้สู่การมีสุขภาพดีวิถีใหม่ในวัยทำงาน ปี 2565 ”

ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมครอบครัวเป็นฐานจัดการความรอบรู้สู่การมีสุขภาพดีวิถีใหม่ในวัยทำงาน ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมครอบครัวเป็นฐานจัดการความรอบรู้สู่การมีสุขภาพดีวิถีใหม่ในวัยทำงาน ปี 2565 จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สูงเม่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมครอบครัวเป็นฐานจัดการความรอบรู้สู่การมีสุขภาพดีวิถีใหม่ในวัยทำงาน ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมครอบครัวเป็นฐานจัดการความรอบรู้สู่การมีสุขภาพดีวิถีใหม่ในวัยทำงาน ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สูงเม่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกลุ่มวัยทำงาน หมายถึงประชาชนที่มีอายุ ระหว่าง อายุ 15-59 ปี เป็นกลุ่มที่มีมากในสัดส่วน2 ใน 3ของประชากรทั้งหมดที่ต้องรับภาระเลี้ยงดูกลุ่มวัยผู้สูงอายุ เด็กดูแลทุกคนในครอบครัว ซึ่งเป็นวัยที่มีศักยภาพในการทำงานและขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆใน ชุมชน หากมีการเจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรังจะทำให้มีอุปสรรคต่อการทำงาน หาเลี้ยงครอบครัวสถานการณ์เหล่านี้นำมาสู่ปัญหาทั้งด้านเศรษฐกิจสุขภาพสังคม จึงต้องมีการเตรียมความพร้อมทั้ง 3 มิติ โดยการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม การวางแผนชีวิตอย่างมีคุณค่า บนพื้นฐานการพึ่งพาตนเอง การให้ความสำคัญการสร้างความรอบรู้สร้างความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพเฝ้าระวังป้องกันโรค เพื่อให้วัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์อย่างยั่งยืน ปฎิบัติเป็นประจำ และมีความรอบรู้ในการเลือกบริโภคอาหารใส่ใจในโภชนาการ มีการขับเคลื่อนกิจกรรมทางกายที่ต่อเนื่องมีพฤติกรรมที่ชะลอวัยป้องกันการหกล้ม หลงลืม ป้องกันภาวะสมองเสื่อม และมีการเฝ้าระวัง ตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอตามเกณฑ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว จะทำให้กลุ่มวัยทำงาน เหล่านี้ก้าวเข้าสู่ผู้วัยสูงอายุ อย่างมีคุณภาพ ในวันข้างหน้า
จากข้อมูลประชากรวัยทำงาน (อายุ 15-59 ปี )ที่อาศัยอยู่จริงในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต บ้านโตน มีจำนวน ทั้งหมด1,408 คน ข้อมูลสถานะสุขภาพส่วนใหญ่จะมีการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรม สุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น สถิติข้อมูล 3 ปี ย้อนหลังพบว่าประชาชนป่วยด้วยโรคเบาหวาน ตั้งแต่ปี 2562 จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ 8 คน ปี 2563 จำนวน 8 คน และปี 2564 จำนวน 13 คนรวมทั้งหมดผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบ230คน ที่ติดตามการรักษา 111 คน และป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 558 คน ติดตามการรักษาที่รพ.สต. 209 คนพบใหม่ในปี 2562 จำนวน 16 คน ปี 2563 จำนวน 15 คนและ ปี 2564 จำนวน 9 คน
เนื่องจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสุขภาพลำดับที่หนึ่งของประชาชนวัยทำงานในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต. บ้านโตน ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและครอบครัวหากเป็นผู้ป่วย จะต้องรับการรักษาตลอดชีวิตและ หากขาดการใส่ใจเรื่องความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนตนเอง หรือจัดการสุขภาพด้วยตนเองได้น้อย ในการเฝ้าระวังป้องกันโรคก็จะได้จะเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดสมอง ไตวายเรื้อรัง ที่ต้องรักษาในระยะยาว และ ใช้งบประมาณในการรักษาพยาบาลจำนวนมากและเพื่อดำเนินการตาม นโยบายสุขภาพดี วิถีใหม่ 3 อ.” ปี 2565 ของกระทรวงสาธารณสุข จากเหตุผลความจำเป็นและสภาพปัญหาดังกล่าว รพ.สต.บ้านโตน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม ครอบครัวเป็นฐานจัดการความรอบรู้ สู่การมีสุขภาพดี วิถีใหม่ในวัยทำงานปี2565

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ประชุม เพิ่มพูนความรอบรู้สู่แกนนำ อสม.ในการติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในชุมชน
  2. กิจกรรม การเสวนาส่งเสริมความรอบรู้ ( Health Literacy )และ กิจกรรม kick off ออกกำลังกายร่วมกัน
  3. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง /ครอบครัว ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน
  4. การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ในการเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมมะเร็งปากมดลูก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,408
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรอบรู้ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแล กลุ่มเป้าหมายบ้านตนเองได้
  2. อัตราป่วยในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง ลดลง และจำนวนการเกิดภาวะแทรกซ้อนใน กลุ่มป่วย
    ความพิการที่ป้องกันได้
  3. มีแกนนำ อสม.มีความเชี่ยวชาญมีความรู้ในการติดตามการสื่อสารความรู้กับกลุ่มเป้าหมาย ใน
    การเฝ้าระวังป้องกันโรค ในกลุ่มวัยทำงานในชุมชนได้
  4. มีแกนนำ อสม. ที่เชี่ยวชาญตรวจเต้านม และให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายในการตรวจเต้านมด้วย
    ตนเองได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1478
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,408
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ประชุม เพิ่มพูนความรอบรู้สู่แกนนำ อสม.ในการติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในชุมชน (2) กิจกรรม การเสวนาส่งเสริมความรอบรู้ ( Health Literacy )และ กิจกรรม kick off ออกกำลังกายร่วมกัน (3) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง /ครอบครัว ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน (4) การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ในการเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมมะเร็งปากมดลูก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมครอบครัวเป็นฐานจัดการความรอบรู้สู่การมีสุขภาพดีวิถีใหม่ในวัยทำงาน ปี 2565 จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด