โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางวิลาสินี พิศพรรณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L8422-01-05 เลขที่ข้อตกลง 65-L8422-01-06
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L8422-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆ ของประเทศไทย ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ในปีพ.ศ.2559 – 2561 มีอัตราตาย 114.096, 114.661, 114.283 ต่อแสนประชากรตามลำดับ (ข้อมูล จากสํานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2561) และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา สูงมาก เฉพาะโรคมะเร็งอย่างเดียว ประมาณคนละ 1 ล้านบาท ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมี พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือ ขาดการออกกําลังกายมีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง
จากการคัดกรองโรคเมตาบอลิกของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ในปี 2562 – 2564 พบว่า ประชากรที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมีอัตรา 960.19 , 670.54 , 800 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ประชากรมีภาวะเบาหวาน มีอัตรา 397.32 , 302.56 , 329.90 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าประชาชนในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง มีกลุ่มป่วย โรคเบาหวานลดลง แต่โรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น จากการได้ดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบว่าบ้านโคก ม.5 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมากที่สุดที่ยังไม่ได้รับการคัดกรอง เมื่อเทียบกับหมู่บ้าน อื่น ในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ซึ่งได้ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ อสม., ผู้ใหญ่บ้าน ,ผู้นำศาสนา บ้านโคก ม.5 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง จัดทำโครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จุดประกายให้ ประชาชนในหมู่บ้าน ได้หันมาเอาใจใส่ดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน ซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพที่ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเรื้อรัง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
- กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ
- กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน
- กิจกรรมมหกรรมเดินออกกำลังกายและอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย/จัดมหกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 30 คนๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,500.-บาท
- ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,500.-บาท
- รวมเป็นเงิน 9,000.-บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
0
0
2. กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คนๆ 2 มื้อๆละ 25 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,500.-บาท
- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 30 คนๆ 1 มื้อๆละ 50 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,500.-บาท
- ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 720.-บาท
- ค่าแผ่นป้ายพลาสวูดแบบตั้งโต๊ะขนาด 21 เซนติเมตร x 30 เซนติเมตร จำนวน 10 แผ่นป้ายๆละ 500 บาท เป็นเงิน 5,000.-บาท
- ค่าตัวอย่างอาหาร 10 รายการต่อ1ครั้งๆละ 500บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 1,500.-บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
0
0
3. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท 1 ครั้ง เป็นเงิน 750.-บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
0
0
4. กิจกรรมมหกรรมเดินออกกำลังกายและอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย/จัดมหกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารว่างจำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250.-บาท
- ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 2 ป้ายๆละ 720บาท เป็นเงิน 1,440.-บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเรื้อรัง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมที่ดีขึ้นร้อยละ 80
2.ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ร้อยละ 1 ของกลุ่มเป้าหมาย
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเรื้อรัง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (2) กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ (3) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน (4) กิจกรรมมหกรรมเดินออกกำลังกายและอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย/จัดมหกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L8422-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวิลาสินี พิศพรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางวิลาสินี พิศพรรณ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L8422-01-05 เลขที่ข้อตกลง 65-L8422-01-06
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L8422-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆ ของประเทศไทย ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ในปีพ.ศ.2559 – 2561 มีอัตราตาย 114.096, 114.661, 114.283 ต่อแสนประชากรตามลำดับ (ข้อมูล จากสํานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2561) และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา สูงมาก เฉพาะโรคมะเร็งอย่างเดียว ประมาณคนละ 1 ล้านบาท ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมี พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือ ขาดการออกกําลังกายมีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง จากการคัดกรองโรคเมตาบอลิกของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ในปี 2562 – 2564 พบว่า ประชากรที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมีอัตรา 960.19 , 670.54 , 800 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ประชากรมีภาวะเบาหวาน มีอัตรา 397.32 , 302.56 , 329.90 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าประชาชนในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง มีกลุ่มป่วย โรคเบาหวานลดลง แต่โรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น จากการได้ดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบว่าบ้านโคก ม.5 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมากที่สุดที่ยังไม่ได้รับการคัดกรอง เมื่อเทียบกับหมู่บ้าน อื่น ในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ซึ่งได้ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ อสม., ผู้ใหญ่บ้าน ,ผู้นำศาสนา บ้านโคก ม.5 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง จัดทำโครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จุดประกายให้ ประชาชนในหมู่บ้าน ได้หันมาเอาใจใส่ดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน ซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพที่ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเรื้อรัง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
- กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ
- กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน
- กิจกรรมมหกรรมเดินออกกำลังกายและอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย/จัดมหกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าอาหารว่างจำนวน 30 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท 1 ครั้ง เป็นเงิน 750.-บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมมหกรรมเดินออกกำลังกายและอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย/จัดมหกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเรื้อรัง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมที่ดีขึ้นร้อยละ 80 2.ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ร้อยละ 1 ของกลุ่มเป้าหมาย |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเรื้อรัง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (2) กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ (3) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน (4) กิจกรรมมหกรรมเดินออกกำลังกายและอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย/จัดมหกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L8422-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวิลาสินี พิศพรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......