โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายคณาวิทย์ เจ๊ะซู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L8422-02-02 เลขที่ข้อตกลง 65-L8422-02-02
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L8422-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ชมรมผู้สูงอายุ (สภาซูรอบ้านยานิง) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2561 โดยการรวมตัวของกลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้านกำปงดือลง บ้านยานิง อำเภอเจาะไอร้อง ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุในหมู่บ้านมาทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกัน และเป็นการพัฒนาจิตใจให้ผู้สูงอายุมีความสดชื่นเบิกบาน ซึ่งแนวโน้มของผู้สูงอายุนับวันจะมีจำนวนมากขึ้นอันจะนำมาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรัง เนื่องจากวัยสูงอายุตามธรรมชาติจะมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลงทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ทั้งนี้พบว่า ผู้สูงอายุมีสถิติการเกิดโรคมากกว่าวัยอื่นๆถึง 4 เท่า นอกจากนั้นยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 65ปี ประมาณ 4 ใน 5คน จะมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1โรค ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจในผู้สูงอายุที่สำคัญ คือ ภาวะซึมเศร้าที่เกิดจากการสูญเสียบุคคลใกล้ชิด รวมทั้งการขาดรายได้ การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ในสังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องเตรียมการในการดูแลผู้สูงอายุ ในด้านการส่งเสริมบทบาทสังคม และการดูแลสุขภาพเรื่องรองรับการบริการของผู้สูงอายุตามสิทธิตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
ชมรมผู้สูงอายุ (สภาซูรอบ้านยานิง) ตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพ และการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ ซึ่งมีจำนวนมากที่ยังไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง และเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ในชมรมผู้สูงอายุ (สภาซูรอบ้านยานิง) เพื่อให้เป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในด้านต่างๆ เน้นให้ผู้สูงอายุมาทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันอันเป็นแนวทางที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาความรู้ อารมณ์ และจิตใจให้ผ่องแผ้วเบิกบาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
3. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน
4. เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในการดำเนินชีวิตประจำวัน
5. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสทบทวนเรื่องการละหมาดและบทดุอาอ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมพบปะประชุมประจำเดือนๆละ 1ครั้ง/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชมรมผู้สูงอายุ และให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี
- กิจกรรมเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่บ้าน
- กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี
- กิจกรรมทบทวนบทละหมาด และดุอาอ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่ายกาย และจิตใจ
- ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ และสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
- ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
- ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมเยียนจากเพื่อนสมาชิก เสริมพลังบวกให้กำลังใจ
- มีการประสานงาน และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนในการดูแลผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่บ้าน
วันที่ 20 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารว่างจำนวน 40คนๆละ 2 มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 2,000.-บาท
- ค่าชุดเยี่ยม จำนวน 100คนๆละ 200บาท เป็นเงิน 20,000.-บาท
- ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.2 X 2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 720.-บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่ายกาย และจิตใจ
2.ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ และสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
3.ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
4.ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมเยียนจากเพื่อนสมาชิก เสริมพลังบวกให้กำลังใจ
5.มีการประสานงาน และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนในการดูแลผู้สูงอายุ
0
0
2. กิจกรรมทบทวนบทละหมาด และดุอาอ์
วันที่ 22 มิถุนายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าเอกสารบทละหมาด และบทดุอาอ์ จำนวน 40คนๆละ 45บาท เป็นเงิน 1,800.-บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่ายกาย และจิตใจ
- ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ และสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
- ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
- ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมเยียนจากเพื่อนสมาชิก เสริมพลังบวกให้กำลังใจ
- มีการประสานงาน และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนในการดูแลผู้สูงอายุ
0
0
3. กิจกรรมพบปะประชุมประจำเดือนๆละ 1ครั้ง/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชมรมผู้สูงอายุ และให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี
วันที่ 28 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารว่างจำนวน 40คนๆละ 2มื้อๆละ 25บาท 7ครั้ง เป็นเงิน 14,000.-บาท
- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 40คนๆละ 1มื้อๆละ 50บาท เป็นเงิน 2,000.-บาท
- ค่าวัสดุในการฝึกอบรม จำนวน 40คนๆละ 70บาท (สมุด ปากกา กระเป๋า) เป็นเงิน 2,800.-บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่ายกาย และจิตใจ
-ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ และสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
-ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
-ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมเยียนจากเพื่อนสมาชิก เสริมพลังบวกให้กำลังใจ
-มีการประสานงาน และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนในการดูแลผู้สูงอายุ
0
0
4. กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี
วันที่ 14 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่ายกาย และจิตใจ
- ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ และสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
- ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
- ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมเยียนจากเพื่อนสมาชิก เสริมพลังบวกให้กำลังใจ
- มีการประสานงาน และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนในการดูแลผู้สูงอายุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ค่าอาหารว่างจำนวน 40คนๆละ 2มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 2,000.-บาท
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
3. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน
4. เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในการดำเนินชีวิตประจำวัน
5. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสทบทวนเรื่องการละหมาดและบทดุอาอ์
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ
2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
3. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รวมกลุ่มการทำกิจกรรมร่วมกัน
4. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการสร้างขวัญกำลังใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน
5. ผู้สูงอายุได้ทบทวนละหมาดเดือนละครั้ง เพื่อสร้างความมั่นใจในการประกอบศาสนกิจประจำวัน
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
3. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน
4. เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในการดำเนินชีวิตประจำวัน
5. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสทบทวนเรื่องการละหมาดและบทดุอาอ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพบปะประชุมประจำเดือนๆละ 1ครั้ง/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชมรมผู้สูงอายุ และให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี (2) กิจกรรมเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่บ้าน (3) กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี (4) กิจกรรมทบทวนบทละหมาด และดุอาอ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L8422-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายคณาวิทย์ เจ๊ะซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายคณาวิทย์ เจ๊ะซู
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L8422-02-02 เลขที่ข้อตกลง 65-L8422-02-02
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L8422-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ชมรมผู้สูงอายุ (สภาซูรอบ้านยานิง) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2561 โดยการรวมตัวของกลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้านกำปงดือลง บ้านยานิง อำเภอเจาะไอร้อง ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุในหมู่บ้านมาทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกัน และเป็นการพัฒนาจิตใจให้ผู้สูงอายุมีความสดชื่นเบิกบาน ซึ่งแนวโน้มของผู้สูงอายุนับวันจะมีจำนวนมากขึ้นอันจะนำมาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรัง เนื่องจากวัยสูงอายุตามธรรมชาติจะมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลงทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ทั้งนี้พบว่า ผู้สูงอายุมีสถิติการเกิดโรคมากกว่าวัยอื่นๆถึง 4 เท่า นอกจากนั้นยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 65ปี ประมาณ 4 ใน 5คน จะมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1โรค ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจในผู้สูงอายุที่สำคัญ คือ ภาวะซึมเศร้าที่เกิดจากการสูญเสียบุคคลใกล้ชิด รวมทั้งการขาดรายได้ การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ในสังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องเตรียมการในการดูแลผู้สูงอายุ ในด้านการส่งเสริมบทบาทสังคม และการดูแลสุขภาพเรื่องรองรับการบริการของผู้สูงอายุตามสิทธิตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ชมรมผู้สูงอายุ (สภาซูรอบ้านยานิง) ตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพ และการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ ซึ่งมีจำนวนมากที่ยังไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง และเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ในชมรมผู้สูงอายุ (สภาซูรอบ้านยานิง) เพื่อให้เป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในด้านต่างๆ เน้นให้ผู้สูงอายุมาทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันอันเป็นแนวทางที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาความรู้ อารมณ์ และจิตใจให้ผ่องแผ้วเบิกบาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน 3. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน 4. เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในการดำเนินชีวิตประจำวัน 5. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสทบทวนเรื่องการละหมาดและบทดุอาอ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมพบปะประชุมประจำเดือนๆละ 1ครั้ง/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชมรมผู้สูงอายุ และให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี
- กิจกรรมเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่บ้าน
- กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี
- กิจกรรมทบทวนบทละหมาด และดุอาอ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่ายกาย และจิตใจ
- ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ และสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
- ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
- ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมเยียนจากเพื่อนสมาชิก เสริมพลังบวกให้กำลังใจ
- มีการประสานงาน และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนในการดูแลผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่บ้าน |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่ายกาย และจิตใจ 2.ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ และสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน 3.ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน 4.ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมเยียนจากเพื่อนสมาชิก เสริมพลังบวกให้กำลังใจ 5.มีการประสานงาน และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนในการดูแลผู้สูงอายุ
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมทบทวนบทละหมาด และดุอาอ์ |
||
วันที่ 22 มิถุนายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมพบปะประชุมประจำเดือนๆละ 1ครั้ง/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชมรมผู้สูงอายุ และให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี |
||
วันที่ 28 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่ายกาย และจิตใจ -ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ และสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน -ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน -ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมเยียนจากเพื่อนสมาชิก เสริมพลังบวกให้กำลังใจ -มีการประสานงาน และเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนในการดูแลผู้สูงอายุ
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี |
||
วันที่ 14 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ค่าอาหารว่างจำนวน 40คนๆละ 2มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 2,000.-บาท
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
3. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน
4. เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในการดำเนินชีวิตประจำวัน
5. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสทบทวนเรื่องการละหมาดและบทดุอาอ์ ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ 2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน 3. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รวมกลุ่มการทำกิจกรรมร่วมกัน 4. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการสร้างขวัญกำลังใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน 5. ผู้สูงอายุได้ทบทวนละหมาดเดือนละครั้ง เพื่อสร้างความมั่นใจในการประกอบศาสนกิจประจำวัน |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะเพื่อนในวัยเดียวกัน
3. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน
4. เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในการดำเนินชีวิตประจำวัน
5. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสทบทวนเรื่องการละหมาดและบทดุอาอ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพบปะประชุมประจำเดือนๆละ 1ครั้ง/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชมรมผู้สูงอายุ และให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี (2) กิจกรรมเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่บ้าน (3) กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี (4) กิจกรรมทบทวนบทละหมาด และดุอาอ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L8422-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายคณาวิทย์ เจ๊ะซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......