กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา(COVID – 19) ม.16 บ้านคลองน้ำเค็ม ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายหัสบลเลาะ สันมาแอ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา(COVID – 19) ม.16 บ้านคลองน้ำเค็ม

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5313-02-014 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา(COVID – 19) ม.16 บ้านคลองน้ำเค็ม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา(COVID – 19) ม.16 บ้านคลองน้ำเค็ม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา(COVID – 19) ม.16 บ้านคลองน้ำเค็ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5313-02-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุข ให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ทำให้ประชาชนเกิดการตื่นตระหนกกันทั่วโลกร่วมถึงประเทศไทยด้วย พบว่าโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) มีการระบาดไปยังหลายประเทศ ทั่วโลก มีผู้ติดเชื้อเเละเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจอย่างรุนเเรงสถานการณ์การเเพร่ระบาดกระจายไปยังทุกพื้นที่ เเละมีเเนวโน้มว่าอาจจะมีการระบาดเพิ่มมากขึ้น
ข้อมูลจังหวัดสตูล พบว่ามีผู้ติดเชื้อยืนยันสะสมจำนวน 5,542 รายและจากการสำรวจของบัณฑิตอาสาหมู่ที่ 16 บ้านคลองน้ำเค็มจากช่วงระบาดรอบที่ ๑ และ ๒ 3 มีผู้เดินทางเข้ามาในพื้นที่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ จำนวน 124 รายเห็นว่าประชาชนในพื้นที่บ้านคลองน้ำเค็ม มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคดังกล่าว ซึ่งมีจังหวัดใกล้เคียง เช่น จังหวัดตรัง จังหวัดสงขลา มีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก และในเดือนนี้ได้มีการถือศิลอดและได้ไปละหมาดตารอเวี๊ยะรวมกันที่มัสยิดทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะมีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นและในเดือนข้างหน้าจะมีเทศกาลฮารีรายอ ซึ่งจะมีพี่น้องที่ เดินทางกลับเข้ามาในพื้นที่หมู่บ้านเพื่อประกอบพิธีในวันฮารีรายอ รวมถึงการเยี่ยมญาติเป็นจำนวนมาก จากสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนบ้านคลองน้ำเค็มได้มีผู้ติดเชื้อแล้วทั้งหมดจจำนวน 184 ราย รักษาหายแล้วจำนวน 175 ราย และกำลังรักษาตัวอยู่จำนวน 8ราย และได้เสียชีวิตจากการติดเชื้อโควิด 19 จำนวน 1 ราย จากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ดังกล่าว ทางคณะกรรมการหมู่บ้านคลองน้ำเค็ม จึงได้จัดทำโครงการรวมพลังป้องกัน และควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ม.16 บ้านคลองน้ำเค็ม ขึ้นเพื่อเร่งดำเนินการป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดของโรค และสร้างสุขนิสัยส่วนบุคคลให้ถูกต้อง รวมถึงให้ข้อมูลที่ถูกต้องและคัดกรองภาวะเสี่ยงแก่ประชาชนในพื้นที่ช่วยลดผลกระทบในด้านเศรษฐกิจและสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนที่เดินทางมาในพื้นที่ ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้น
  2. เพื่อให้ประชาชนทุกคนที่ไปประกอบศาสนกิจในมัสยิด ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้นก่อนปฏิบัติศาสนกิจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมคณะทำงานจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 15 คน ครั้งที่ ๑ เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจ โครงการและแบ่งบทบาทหน้าที่การ ทำงาน มอบหมายงานให้แต่ละคน ครั้งที่ ๒ เพื่อสรุปผลการดำเนินงานหลักเสร็จสิ้นโครงการพร้อมจัดทำรายงาน
  2. ปฏิบัติการเรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) และการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Swab) ด้วย Antigen Test Kit (ATK)
  3. กิจกรรมติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนที่เดินทางมาในพื้นที่ ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้น 2.ประชาชนทุกคนที่ไปประกอบศาสนกิจในมัสยิด ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้นก่อนปฏิบัติศาสนกิจ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชุมคณะทำงานจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 15 คน ครั้งที่ ๑ เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจ โครงการและแบ่งบทบาทหน้าที่การ ทำงาน มอบหมายงานให้แต่ละคน ครั้งที่ ๒ เพื่อสรุปผลการดำเนินงานหลักเสร็จสิ้นโครงการพร้อมจัดทำรายงาน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อม คณะทำงาน 1.1 กิจกรรมย่อย -ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ -แบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน -มอบหมายงานท(มีจุดคัดกรองสุขภาพประจำวัน อย่างน้อย 1 ชุด ในหมู่บ้าน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจโครงการ วัตถุประสงค์และความเป็นมาของโครงการ

 

0 0

2. กิจกรรมติดตามประเมินผล

วันที่ 12 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงาน -คณะทำงานร่วมกับประเมินสถานการณ์จากาารตั้งจุดตรวจคัดกรองในหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันตนเองในระดับบุคลครอบครัว และชุมชน

 

0 0

3. ปฏิบัติการเรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) และการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Swab) ด้วย Antigen Test Kit (ATK)

วันที่ 20 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดตั้งจุดคัดกรองสุขภาพประจำหมู่บ้าน -จัดตั้งจุดคัดกรองสุขภาพประจำหมู่บ้านประกอบด้วย อสม. ผู้นำชุมชน ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยฝ่ายปกครอง และผรส. ชรบ. บัณฑิตอาสาฯ จำนวน 15 คน โดยมี 1.ซักประวัติการเดินทาง/ประเมินความเสี่ยง 2.ตรวจสุขภาพให้กับประชาชนที่เดินทางมาละหมาดที่มัสยิดทุกๆวันศุกร์ 3.ตรวจสุขภาพด้วยวิธีการวัดอุณหภูมิร่างกาย 4.ประธานพูดคุยประชาสัมพันธ์  สอนวิธีการดูแลตนเองเรื่องการกำจัดทำลายเชื้อด้วยวิธีการล้างมือด้วยสบู่และเจลแอลกอฮอล์  สวมหน้ากากอนามัย 5.ตรวจ ATK ให้กับผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานร่วมกันตั้งจุดคัดกรองสุขภาพพร้อมให้ความรู้แก่ประชาชนซึ่งประชาชนให้ความร่วมมือ คิดเป็นร้อยละ 90%

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนที่เดินทางมาในพื้นที่ ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : - มีจุดบริการคัดกรองสุขภาพประจำวัน อย่างน้อย 1 ชุด ในหมู่บ้าน - ร้อยละ ๙๕ ของประชาชนที่เดินทางมาในพื้นที่ ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้น
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนทุกคนที่ไปประกอบศาสนกิจในมัสยิด ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้นก่อนปฏิบัติศาสนกิจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของประชาชนทุกคนที่ไปประกอบศาสนกิจในมัสยิด ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้นก่อนปฏิบัติศาสนกิจ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนที่เดินทางมาในพื้นที่ ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้น (2) เพื่อให้ประชาชนทุกคนที่ไปประกอบศาสนกิจในมัสยิด ได้รับการตรวจคัดกรองร่างกายเบื้องต้นก่อนปฏิบัติศาสนกิจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมคณะทำงานจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 15 คน  ครั้งที่ ๑ เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจ โครงการและแบ่งบทบาทหน้าที่การ ทำงาน มอบหมายงานให้แต่ละคน  ครั้งที่ ๒ เพื่อสรุปผลการดำเนินงานหลักเสร็จสิ้นโครงการพร้อมจัดทำรายงาน (2) ปฏิบัติการเรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) และการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Swab) ด้วย Antigen Test Kit (ATK) (3) กิจกรรมติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา(COVID – 19) ม.16 บ้านคลองน้ำเค็ม จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5313-02-014

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายหัสบลเลาะ สันมาแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด