โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง ปี 2561 จังหวัดสตูล
- ประสานผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลแหลมสน
- สอบถามสถานการณ์ปัญหาในการทำงานกองทุนฯ
- แนะนำให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบคัย์ข้อมูลในระบบเวบไซค์และจัดทำแผนงานปี 62
- มีการประสานไปยังกองทุนเพื่อสอบถามสถานการณ์ปัญหาการทำงานเมื่อวันที่ 27 ต.ค. 61
- ผู้รับผิดชอบงานกองทุนเข้าใจและรับที่จะทำแผนงานปี 62
เยี่ยมติดตามกองทุนฯ เพื่อให้คำแนะนำในครั้งที่ 2
เยี่ยมผู้บริหารกองทุนฯ เลขานุการกองทุนฯ และผู้ปฏิบัติงานกองทุน เพื่อเยี่ยมและแนะนำดังนี้
- พบรองนายกเนื่องจากนายยกติดราชการ พบรองปลัดฯ และผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ จำนวน 3 ท่าน
1.เยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และการลงข้อมูลในระบบออนไลน์
2.แนะนำแนวทางการสรรหาคณะกรรมการชุดใหม่แทนชุดเก่าที่จะครบวาระการดำรงตำแหน่งในวันที่ 30 กันยายน 2561 และรักษาการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561
3.แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพ และการเขียนโครงการประเภทที่ 4
4.แนะนำแนวทางการดำเนินงานกองทุนตามร่างประกาศฯ พ.ศ. 2561
เยี่ยมติดตามกองทุนฯเพื่อให้คำแนะนำและติดตามแผนงานโครงการ
ติดตามเยี่ยมผู้บริหารกองทุนฯ เลขานุการกองทุนฯ และผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ
- พบรองนายก ทต.ทุ่งหว้า ปลัดฯ ผอ.กองสาธารณสุขฯ และผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ ได้เนินการให้คำแนะนำและชี้แนะการดำเนินงานกองทุนฯ รายละเอียดดังนี้
1.เยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และการลงข้อมูลในระบบออนไลน์
2.แนะนำแนวทางการสรรหาคณะกรรมการชุดใหม่แทนชุดเก่าที่จะครบวาระการดำรงตำแหน่งในวันที่ 30 กันยายน 2561 และรักษาการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561
3.แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพ และการเขียนโครงการประเภทที่ 4
4.แนะนำแนวทางการดำเนินงานกองทุนตามร่างประกาศฯ พ.ศ. 2561
เยี่ยมติดตามกองทุนฯ และให้คำแนะนำ
ติดตามเยีย่มผู้บริหารกองทุนฯ เลขานุการฯ และผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ
-พบผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ สำหรับนายกและปลัดติดราชการ จึงได้ให้คำแนะนำการดำเนินงานกองทุนฯดังนี้
1.เยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และการลงข้อมูลในระบบออนไลน์
2.แนะนำแนวทางการสรรหาคณะกรรมการชุดใหม่แทนชุดเก่าที่จะครบวาระการดำรงตำแหน่งในวันที่ 30 กันยายน 2561 และรักษาการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561
3.แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพ และการเขียนโครงการประเภทที่ 4
4.แนะนำแนวทางการดำเนินงานกองทุนตามร่างประกาศฯ พ.ศ. 2561
ลงเยี่ยมแนะนำให้คำปรึกษาแก่กองทุน ในเรื่องของการจัดทำแผน การบันทึกข้อมูล และการคัดเลือกคณะกรรมการชุดใหม่
กองทุนมีความเข้าใจในเรื่องของการจัดทำแผนงาน มีการบันทึกข้อมูลที่ครบถ้วน
- ประสานผู้รับผิดชอบงานกองทุนเพื่อติดตามความก้าวหน้าในการทำงาน
- ได้มีการพูดคุยเพื่อสร้างความเข้าใจการทำงาน
- แนะนำการทำงานแผนงานปี 62
ให้คำแนะนำการจัดทำแผนการดำเนินงานและแผนงบประมาณของปี62 ให้คำแนะนำการบันทึกข้อมูล
กองทุนมีความเข้าใจมากขึ้นในการจัดทำแผน และลงบันทึกข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
ร่วมประชุมแผนสุขภาพตำบลกับ คณะกรรมการบริหารกองทุน แนะนำการเขียนโครงการ บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุน
คณะกรรมการบริหารกองทุน ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างคณะกรรมการและเสนอโครงการ
ร่วมประชุมแผนสุขภาพกับคณะกรรมการบริหารกองทุน แนะนำเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดูแลระบบ แนะนำการจัดทำแผนงานโครงการ แนะนำการเสนอโครงการ คณะกรรมการกองทุนเข้าใจบทบาทและระเบียบกองทุนมากขึ้น
ร่วมประชุมแผนสุขภาพกับคณะกรรมการบริหารกองทุนแนะนำเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดูแลระบบ แนะนำการจัดทำแผนงานโครงการ แนะนำการเสนอโครงการ คณะกรรมการกองทุนเข้าใจบทบาทและระเบียบกองทุนมากขึ้น
ให้คำแนะนำการลงบันทึกข้อมูล การสมทบเงิน แนะนำการพิจารณาโครงการ
กองทุนมีความเข้าใจมากขึ้นในการดำเนินงาน
ให้คำแนะนำการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ แนะนำการจัดซื้อจัดจ้างของกองทุน และให้คำแนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบ
กองทุนมีความเข้าใจมากขึ้นในการคัดเลือกกรรมการเพื่อแทนตำแหน่งที่ว่าง
กองทุนเข้าใจระบบการจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้งบบริหาร
กองทุนลงบันทึกข้อมูลในโปรแกรมได้ถูกต้อง
- ประสานผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ อบต.ควนกาหลง เพื่อลงหนุนเสริมการทำงานกองทุนฯ
- วันที่ 9 สิงหาคม 2561 ลงพื้นที่อำเภอควนกาหลงเพื่อหนุนเสริมสร้างความเข้าใจการดำเนินงานกองทุนฯตำบลควนกาหลง
- ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยพี่เลี้ยงกองทุน ประธานกองทุน ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
- วันที่ 9 สิงหาคม 2561 ลงหนุนเสริมการทำงานพื้นที่อำเภอควนกาหลงสอบถามปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงานพบว่าปัญหาที่พบคือรอโครงการให้เข้ามา...
ลงหนุนเสริมพื้นที่เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลังวันที่ 8 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง มีผู้เข้าร่วมประชุมประชุมด้วยปลัด และผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผอ.รพ.สต. เจ๊ะบิลัง และพี่เลี้ยงกองทุนจำนวน 3 คน เพื่อสร้างความเข้าใจการทำงานกองทุนและสอบถามสาเหตุของการอนุมัติงบประมาณในช่วงที่ผ่านมาระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ ตอบข้อซักถามเรื่องการทำแผนงาน และข้อดีของระบบเวบไซค์ กองทุน
ลงหนุนเสริมพื้นที่เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลังวันที่ 8 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 8 คน ประกอบด้วยปลัด และผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผอ.รพ.สต. เจ๊ะบิลัง และพี่เลี้ยงกองทุนจำนวน 3 คน เพื่อสร้างความเข้าใจการทำงานกองทุนและสอบถามสาเหตุของการอนุมัติงบประมาณในช่วงที่ผ่านมาระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ ตอบข้อซักถามเรื่องการทำแผนงาน และข้อดีของระบบเวบไซค์ กองทุน ทำความเข้าใจการคีย์ข้อมูลแผนงานในระบบเวบไซค์
- ผู้รับผิดชอบงานมีความเข้าใจการทำงานกองทุนมากขึ้น
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบคีย์ข้อมูลในระบบเวบไซค์แจ้งว่าจะคีย์ข้อมูลภายใน 1 อาทิตย์
สรุปการประชุม ครั้งที่ 2 ณ อบต.กำแพง แผนลงพื้นที่ 8 สค. 9:00 น. ทต.เจ๊ะบิลัง 9 สค. 9:00 น. อบต.ควนกาหลง 9 สค. 13:00 น. อบต.ปาล์มพัฒนา โดยลงเป็นทีม พี่เลี้ยงท่านใดว่างให้ลงด้วยกัน - เร่งรัดการลงบันทึกกิจกรรมของพี่เลี้ยง -หารือร่วมกันกรณีสตง.ทักท้วงงบสาธารณสุขตามพระราชดำริ -ช่วยกันค้นหาผู้ที่อยากร่วมทำงานพี่เลี้ยงเพื่อเข้าเป็นพี่เลี้ยงปี62 -สรุปปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงานในปีนี้
ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงานในปี2561
-พี่เลี้ยงมีความเข้าใจไม่ตรงกัน
-พี่เลี้ยงบางคนมีหลายตำแหน่งหลายหน้าที่ทำให้มีเวลาค่อนข้างจำกัด
-กองทุนบางแห่งยังไม่ขยับ เงินยังค้างท่อเยอะ ไม่มีการเบิกจ่าย
-ส่วนใหญ่กองทุนจะกลัวปัญหาจากสตง.จึงไม่กล้าที่จะทำโครงการ
- ประสานให้เจ้าหน้าที่คีย์ข้อมูลขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพมาประชุมร่วมกับทางเจ้าหน้าที่อบต.ปากน้ำในการพัฒนาโครงการร่วมกัน
- ทำความเข้าใจแผนงานและร่วมพัฒนาโครงการในแผนงานบุหรี่และกิจกรรมทางกาย
- เจ้าหน้าที่คีย์ข้อมูลมีความเข้าใจในการทำแผนงานและสามารถพัฒนาโครงการได้
- ได้พัฒนาโครงการ 2 แผนงานคือแผนงานบุหรี่และแผนงานกิจกรรมทางกายได้จำนวน 2 โครงการ
- ลงพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำพบเจ้าหน้าที่คีย์ข้อมูลในระบบเวบไซค์เพื่อร่วมกันดำเนินการพัฒนาโครงการตามแผนงานประกอบด้วยแผนงานบุหรี่และแผนงานกิจกรรมทางกายทำความเข้าใจแผนงานอื่นๆให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการพัฒนาโครงการ
- เจ้าหน้าที่ข้อมูลกองทุนสุขภาพตำบลปากน้ำมีความเข้าใจแผนงานและสามารถพัฒนาโครงการได้ 2 แผนงานคือแผนงานบุหรี่และกิจกรรมทางกาย
- ได้ร่วมวางแผนในการพัฒนากรรมการกองทุนเพื่อให้มีความเข้าใจระเบียบกองทุนมากขึ้น
- ได้ลงพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพเพื่อกระตุ้นให้เจ้าหน้าที่กองทุนที่รับผิดชอบคีย์ข้อมูลในระบบเวบไซค์กองทุนได้เข้าใจวิธีการคีย์ข้อมูล
- ได้ชี้แจงแผนงานที่กองทุนต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วนคือแผนงานบุหรี่ และกิจกรรมทางกาย
- ติดตามการคีย์ข้อมูลของเจ้าหน้าที่กองทุนในแผนงานต่างๆ
- ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการมาพบปะในครั้งนี้เพื่อกระตุ้นให้เจ้าหน้าที่กองทุนคีย์ข้อมูลในระบบเวบไซค์กองทุน
- ทำความเข้าใจแผนงานที่ต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วนคือแผนงานบุหรี่และกิจกรรมทางกาย
- มีอาสาสมัครมาร่วมในการรับฟังการพัฒนาโครงการของกองทุน
ทำความเข้าใจในการจัดกิจกรรม โครงการ การบันทึกระบบ
มีการความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรม โครงการตามประกาศของสปสช
- แนะนำการบันทึกข้อมูลใบเว็บไซค์ www.localfund.happynetwork.org
- ทดลองบันทึกข้อมูล
- แนะนำการพริ้นใบเบิกจากจากโปรแกรมและการพริ้น TOR จากโปรแกรม
- บันทึกข้อมูลโครงการประเะภทที่ 4 และโครงการประเภทที่ 2 จำนวน 2 โครงการ
- แนะนำใบเบิกและ TOR จากโปรแกรม
- สอบถามรายละเอียดการเบิกจ่ายงบประมาณ
- สอบถามการเบิกจ่ายเช็ค
- แนะนำและให้ดูตัวอย่างคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานกองทุนฯ
- ส่งตัวอย่างคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัคิงาน ทางไลน์
- แนะนำให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ และไลน์
- แนะนำการเบิกจ่ายเช็คสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยต่างๆ

เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมการบริหารกองทุนอบต.นิคมพัฒนา รับฟังการพิจารณาโครงการ ร่วมให้ข้อแนะนำในการพิจารณาโครงการ และตอบข้อซักถามของกรรมการ
กรรมการมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นในการพิจารณาอนุมัติโครงการ มีความรอบคอบมากขึ้น
ให้คำแนะนำการพิจารณาโครงการแก่คณะกรรมการกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบ
คณะกรรมการกองทุน มีความเข้าใจมากขึ้นในการพิจารณาโครงการที่ขอรับงบประมาณ โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯและเกิดประโยชน์คุ้มค่ากับประชาชนมากที่สุด
ให้คำแนะนำการจัดทำเอกสารการเงิน ให้คำแนะนำเรื่องการขอรับงบประมาณของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้คำแนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบ
กองทุนสามารถจัดทำเอกสารการเงินได้ถูกต้อง มีความเข้าใจในการเขียนโครงการขอรับงบประมาณ และลงบันทึกในระบบได้อย่างครบถ้วน
1.แนะนำการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมโครงการในเว็บไซค์ 2.แนะนำการทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 3.สอบถาม พูดคุยปัญหาการบริหารจัดการงบประมาณ 4. ตรวจสอบเอกสารการสนุบสนุนงบประมาณให้หน่วยงานต่างๆ 5. ร่วมประชุมกับคณะกรรมการบริการกองทุนฯสปสต.ทต.ฉลุง แนะนำตัวและเสนอแนะรูปแบบการจัดปรุมและการจัดสรรเงินสมทบเข้ากองทุนฯ
- การลงบันทึกข้อมูลรายละเอียดกิจกรรมโครงการ ประเภทที่ 4 เรียบร้อยดี มีแก้ไขการจัดทำ tor โครงการประเภทที่ 4
- แนะนำรายการจัดทำเช็ค และการทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเพื่อความชัดเจนในการเบิก
- มีการประชุมทั้งสิ้น 2 ครั้ง และพิจารณาโครงการปีงบประมาณ 2561 เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว รอการสนับสนุนงบประมาณ
ประชุมคณะกรรมการกองทุนพิจารณาโครงการ
1.พิจารณาโครงการทั้งหมด 12 โครงการ วงเงิน 180,000 บาท 2.ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน 3.ทำปฎิทินการดำเนินงานกองทุนในปี 62 4.ให้รีบดำเนินการป้อนข้อมูลประชากรกลางปี

ลงพื้นที่ ร่วมประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนสตอ วันที่ 22 มิ.ย. 61 ณ อบต.ควนสตอ เป็นการประชุมเพื่อหารือเรื่องการใช้เงินของกองทุนฯอบต.ควนสตอ ซึ่งที่ผ่านมาทางประธานกองทุนรับทราบว่ากองทุนมีการใช้งบประมาณที่น้อยอยู่ ตอนนี้ก็ได้มีแผนประชาสัมพันธ์ให้ชมรมต่างๆมาขอโครงการ ใ้ห้ครอบคลุมทุกประเภท
ผลผลิต ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม , เจ้าหนาที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ , ผู้ช่วยเจ้าพนักงานสาธารณสุข ผลลัพธ์ มีการดำเนินงานกองทุนฯเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และสนับสนุนงบประมาณให้หน่วยงานสาธารณสุข กลุ่ม ชมรมต่าง ๆ ในพื้นที่ดำเนินกิจกรรมดำเนินกิจกรรมและเบิกจ่ายงบประมาณมากกว่า ร้อยละ 50ของงบประมาณทั้งหมด ส่วนงบระมาณรอเบิกจ่าย ร้อยละ50 ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุน อยู่ในช่วงวางฏีกา

ลงพื้นที่ เทศบาลตำบลคลองขุดเพื่อสอบถามปัญหาและอุปสรรคในการดเนินงานกองทุนและสอบถามเกี่ยวกับระเบียบกองทุน ประกาศฯปี57 พร้อมให้กำลังใจ จนท.รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตบลคลองขุด
ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าและการเบิกจ่ายงบประมาณกองทุนปี 2561 ซึ่งทางกองทุนมีการใช้งบประมาณเกินร้อยละ 80 คณะกรรมการกองทุนฯมีความเข้าใจเกียวกับระเบียบ ประกาสกองทุนปี2557 เกินร้อยล70

ร่วมประชุมคณะคณะอนุกรรมการกองทุนฯอบต.ควนโดน วันที่ 19 มิ.ย. 61 ณ ห้องประชุม อบต.ควนโดน เป็นการประชุมเพื่อหารือเรื่องการใช้เงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ซึ่งที่ผ่านมาทางประธานกองทุนรับทราบว่ากองทุนมีการใช้งบประมาณที่น้อยอยู่ ตอนนี้ก็ได้มีแผนประชาสัมพันธ์ให้ชมรมต่างๆมาขอโครงการใหครอบคลุมทุกประเภท
ผลผลิต ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม , เจ้าหนาที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ , ผู้ช่วยเจ้าพนักงานสาธารณสุข ผลลัพธ์ มีการดำเนินงานกองทุนฯเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และสนับสนุนงบประมาณให้หน่วยงานสาธารณสุขกลุ่ม ชมรมต่าง ๆ ในพื้นที่ดำเนินกิจกรรมดำเนินกิจกรรมและเบิกจ่ายงบประมาณมากกว่า ร้อยละ 90 ของงบประมาณทั้งหมด
สอบถาม ปัญหา อุปสสรคในการดำเนินการ
สรา้งความเข้าใจในการเบิกจ่ายงบประมาณ

ลงพื่นที่ติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณโครงการ ปี๒๕๖๑ พบว่ามีการเบิกจ่ายงบประมาณน้อยมาก ซึ่งได้หารือกับคณะกรรมการกองทุน ได้มีแผนงานการเบิกจ่าย แต่มีข้อจำกัดเรื่องการแก้ไขโครงการล่าช้า ทำให้มีการเบิกงบประมาณล่าช้าไปด้วย แต่ก้อได้ให้ข้อเสนอแนะในเรืองการจัดทำแผนการเบิกจ่ายและการประชุมเพื่อขออนุมัติโครงการเป้นระยะๆตั่งแต่ไตรมาสที่๑ มีใ้มีการประชุมต่อเนื่อง
จากการออกติดตามกองทุนฯ อบต.วังประจัน พบว่ามีการดำเนินการต่องเนื่องแต่มีงบประมาณในกองทุนยังไม่เบิกจ่ายให้ผู้รับทุนโครงการเนื่องจากอยากให้โครงการมีคุณภาพผลผลิต ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม , เจ้าหนาที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ , ผู้ช่วยเจ้าพนักงานสาธารณสุข ผลลัพธ์ มีการดำเนินงานกองทุนฯเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และสนับสนุนงบประมาณให้หน่วยงานสาธารณสุขกลุ่ม ชมรมต่าง ๆ ในพื้นที่ดำเนินกิจกรรมดำเนินกิจกรรมและอยู่ในช่วงวางฏีกาเบิกงบประมาณประมาณทั้งหมด

- ติดต่อประสานงานกับ ผอ.กองสาธารณสุขฯ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯของ อบต.เกตรี เพื่อนัดวัน เวลาในการติดตามการดำเนินงานกองทุนฯ 2.ติดตามผลการดำเนินงานกองทุนฯ ของ อบต.เกตรี ซึ่งได้มีการพิจารณาโครงการไปแล้วบางส่วน แต่เนื่องจากเจ้าหน้าที่ผุ้รับผิดชอบงาน ลาป่วยหลายวัน จึงไม่ได้บันทึกข้อมูล และเบิกจ่ายงบประมาณไม่ทั้งหมดตามที่คณะกรรมการอนุมัติโครงการ
- งบประมาณคงเหลือ มีโครงการที่รอเข้ารับการพิจารณาจากคณะกรรมการกองทุนฯ ซึ่งคาดว่าน่าจะมีการใช้จ่ายงบประมาณมากกว่าร้อยละ 85 ของงบประมาณทั้งหมด
ผลผลิต ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม , เจ้าหนาที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ , ผู้ช่วยเจ้าพนักงานสาธารณสุข ผลลัพธ์ มีการดำเนินงานกองทุนฯเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และสนับสนุนงบประมาณให้หน่วยงานสาธารณสุขกลุ่ม ชมรมต่าง ๆ ในพื้นที่ดำเนินกิจกรรมดำเนินกิจกรรมและเบิกจ่ายงบประมาณมากกว่า ร้อยละ 85 ของงบประมาณทั้งหมด
- ร่ามประชุมพิจารณาโครงการกับกองทุนจำนวน 2 โครงการ ได้แก่โครงการมะเร็งปากมดลูก กับโครงการวัณโรค
- ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี 62
1.ติดตามโครงการที่ผ่านการพิจารณาครั้งที่แล้ว 2.จัดทำแผนการดำเนินงานกองทุนในปี 62 โดยกำหนดช่วงเวลากิจกรรมกองทุนเพื่อให้สะดวกในการบริหารจัดการกองทุนให้ทันเวลา

1.ประสานกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เพื่อนัดวัน เวลา ในการลงพื้นที่ไป อบต.ควนโพธิ์ 2. ติดตามผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์
ผลผลิต จากการติดตามการดำเนินงาน อบต.ควนโพธิ์ พบว่ามีการใช้จ่ายงบประมาณไป บางส่วน จำนวน 4 โครงการ โดยมีโครงการที่เป็นประเภทที่ 2 จำนวน 3 โครงการ มี 1โครงการ คือโครงการควบคุมและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าฯที่โอนงบประมาณไปบางส่วน เนื่องจาก สตง.ท้องติงว่าไม่สามารถเบิกจ่ายค่าวัคซีนได้ และยังมีโครงการในแผนงานอีก 3 โครงการที่ยังไม่ได้เสนอคณะกรรมการกองทุนนพิจารณาอนุมัติโครงการ

1.ประสานกับผอ.กองสาธารณสุขฯ และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ย่านซื่อ เพื่อนัดวัน เวลา ในการลงพื้นที่ไป อบต.ย่านซื่อ 2. ลงพื้นที่ อบต.ย่านซื่อ เพื่อติดตามการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ย่านซื่อ
ผลผลิต อบต.ย่านซือได้มีการบันทึกข้อมูล โครงการที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการแล้ว จำนวน 1 โครงการ คือ โครงการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ ปีงบประมาณ 2561 และยังมีโครงการที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติแล้วยังไม่บึนทึกข้อมูลในโปรแกรม และมีโครงการปีงบประมาณ 2560 ที่ยังไม่ปิดโครงการอีก 2 โครงการ ซึ่งได้แนะนำให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการบันทึกข้อมูลแล้ว

1.ประสานกับผอ.กองสาธารณสุขฯ อบต.ฉลุง เพื่อนัดวัน เวลา ในการลงพื้นที่ไป อบต.ฉลุง 2. ลงพื้นที่ อบต.ฉลุง เพื่อสอนการบันทึกข้อมูลให้กับเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการมอบหมายให้มาบันทึกข้อมุลกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ฉลุง และการสอนการจัดทำรายงานการเงินผ่านโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org ให้กับนักวิชาการการเงิน อบต.ฉลุงให้สามารถทำรายงานการเงินผ่านโปรแกรมได้ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรม
ผลผลิต มีโครงการที่ผ่านการอนุมัติแล้วสามารถบันทึกข้อมูลได้เพิ่มขึ้น อีก 2 โครงการ ผลลัพธ์ อบต.ฉลุงได้พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉลุง และเป็นไปตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ร่วมประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล วันที่ 19 เม.ย. 61 ณ ห้องประชุมเทษบาลเมืองสตูล เป็นการประชุมเพื่อหารือเรื่องการใช้เงินของเทศบาลเมืองสตูล ซึ่งที่ผ่านมาทางประธานกองทุนรับทราบว่ากองทุนมีการใช้งบประมาณที่น้อยอยู่ ตอนนี้ก็ได้มีแผนประชาสัมพันธ์ให้ชมรมต่างๆมาขอโครงการ คุณสมชายให้ข้อมูลเรื่ององค์ประกอบการบริหารกองทุนตำบลให้มีประสิทธิภาพประ
ผลผลิต - ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลจัดกิจกรรมวันที่ 19 เมษายน 2561 ณ ห้องประชุมเทศบาลเมืองสตูล มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนเทศบาลเมืองสตูล พี่เลี้ยงกองทุน สปสช.เขต 12 ผู้ขอโครงการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลสตูล
ผลลัพธ์ - คณะกรรมการและผู้ขอโครงการได้รู้องค์ประกอบการบริหารจัดการกองทุน - คณะกรรมการและผู้ขอรับทุนได้เรียนรู้ระบบเวบไซค์และได้เข้าไปดูรายละเอียดโครงการที่ขอมายังกองทุน - คณะกรรมการและผู้รับทุนได้เรียนรู้เรื่องการทำโครงการ -
ลงประชุมร่วมกับคณะกรรมการกองทุนตำบลปากน้ำ ในการพิจารณาโครงการจำนวน 8 โครงการ และให้ข้อเสนอแนะในการจัดทำโครงการของแกนนำ
ผลผลิต - มีพี่เลี้ยงกองทุนจำนวน 2 คน เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย นางกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง และนางสาวอนัญญา แสะหลี - มีคณะกรรมการกองทุนเข้าร่วมครบองค์ประชุม
ผลลัพธ์ - ได้มีการพิจารณาโครงการและให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง - พี่เลี้ยงได้ให้ข้อเสนอแนะในการปรับโครงการให้กับผู้เสนอโครงการ - ร่วมหาแนวทางในการเพิ่มจำนวนผู้รับทุนที่จะมาขอโครงการจากกองทุนโดยเสนอโครงการสำเร็จรูปให้กับท้องถิ่น
ติดตามกองทุนครั้งที่ 1 จากเดิมที่เป็นกองทุนที่ไม่มีการเคลื่อนไหว ในปีงบประมาณนี้มีการดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง เงินสมทบกองทุนที่ยังไม่มีการสมทบจากอปท.
จากประเด็นพูดคุย 1.โครงการมีการดำเนินการตั้งแต่ต้นปี เนื่องจากมีการพิจารณาโครงการตั้งแต่ปลายปีงบ60 2.เงินสมทบกองทุนอยู่ระหว่างดำเนินการ 3.แนะนำโครงการแต่ละประเภทที่กลุ่มต่างๆสามารถเขียนมาของบกองทุนได้
เยี่ยมติดตามกองทุนอบต.ท่าเรือ ให้คำแนะนำในการจัดทำเอกสารเบิกเงินจากโปรแกรม
ให้คำแนะนำในการพิจารณาโครงการ และการบันทึกข้อมูล
อบต.ท่าเรือ เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจชัดเจนขึ้น ในการบันทึกข้อมูล และการจัดทำเอกสารเบิกเงินจากโปรแกรม
การติดตามกองทุนครั้งที่1 เนื่องจากกองทุนยังไม่มีการดำเนินการโครงการและจัดประประชุมคณะกรรมการกองทุน รวมถึงเงินสมทบกองทุนของอปท.ยังไม่ดำเนินการ ลงติดตามเพื่อค้นหาปัญหาอุปสรรค และพูดคุยแนะนำเพื่อกระตุ้นให้กองทุนขับเคลื่อน
จากการติดตาม 1.กิจกรรมโครงการยังไม่มีการดำเนินการ เนื่องจากยังไม่มีการประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาโครงการ แนะนำ ให้เชิญกรรมการประชุม พร้อมให้กลุ่มต่างๆเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ ควรเชิญพี่เลี้ยงด้วย 2.เงินสมทบกองทุนจากอปท. อยู่ระหว่างดำเนินการ 3.แนะนำโครงการที่สามารถดำเนินการได้ของกลุ่มต่างๆ ปัญหาอุปสรรค 1.ผูรับผิดชอบกองทุน ไม่มีความรู้ด้านสาธารณสุขโดยตรง (ผอ.กองศึกษาฯรักษาการแทน) 2.ผู้รับผิดชอบกองทุนไม่มีประสบการณ์ในการบริหารจัดการโครงการ
ลงพื้นที่กองทุน อบต.นาทอน แนะปรับเปลี่ยนแผนงาน แนะนำการประชุมแผนสุขภาพตำบล ซึ่งจะประชุมแผนตำบลระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2561 สาเหตุที่ล่าช้าเนื่องจากผู้บริหารเปลี่ยนแปลงกำหนดการบ่อย ๆ และเงินวงเล็บ 5 ยังไม่ได้โอนเข้าบัญชี อบต. ซึ่งเจ้าหน้าที่คิดว่ารอให้เกิดเหตุก่อนแล้วจะให้ รพ.สต.มาเบิก
ลงพื้นที่กองทุน อบต.นาทอน แนะปรับเปลี่ยนแผนงาน แนะนำการประชุมแผนสุขภาพตำบล ซึ่งจะประชุมแผนตำบลระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2561 สาเหตุที่ล่าช้าเนื่องจากผู้บริหารเปลี่ยนแปลงกำหนดการบ่อย ๆ และเงินวงเล็บ 5 ยังไม่ได้โอนเข้าบัญชี อบต. ซึ่งเจ้าหน้าที่คิดว่ารอให้เกิดเหตุก่อนแล้วจะให้ รพ.สต.มาเบิก

เยี่ยมติดตามกองทุนอบต.นิคมพัฒนาครั้งที่ 1 ร่วมประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ให้คำแนะนำการพิจารณาโครงการ เสนอแนะแนวทางการจัดทำแผนงาน และการบันทึกข้อมูล
ติดตามกองทุนอบต.ตันหยงโปครั้งที่1 ให้คำแนะนำการพิจารณาโครงการ แนะนำการยันทึกข้อมูลในระบบ การออกเอกสารการเงินจากระบบ
กองทุนมีความเข้าใจมากขึ้นในการลงบันทึกข้อมูล มีการออกเอกสารการเงินจากระบบ
ติดตามกองทุนอบต.ตันหยงโปครั้งที่1 ให้คำแนะนำการพิจารณาโครงการ แนะนำการยันทึกข้อมูลในระบบ การออกเอกสารการเงินจากระบบ
กองทุนมีความเข้าใจมากขึ้นในการลงบันทึกข้อมูล มีการออกเอกสารการเงินจากระบบ
ลงเยี่ยมและติดตามกองทุน พร้อมด้วยคณะคณะพี่เลี้ยงหลายท่าน และได้ร่วมประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน และ ตัวแทนผู้ขอรับสนับสนุนเงินกองทุน
ลงเยี่ยมและติดตามกองทุน พร้อมด้วยคณะคณะพี่เลี้ยงหลายท่าน และได้ร่วมประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน และ ตัวแทนผู้ขอรับสนับสนุนเงินกองทุน
เยี่ยมติดตามอบต.ตำมะลังครั้งที่1 แนะนำการพิจารณาโครงการ การบันทึกข้อมูล กองทุนอบต.ตำมะลังมีการบันทึกข้อมูลได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ถือเป็นกองทุนต้นแบบได้
ลงพื้นที่ อบต.ละงูเพื่ิอเยี่ยมและให้คำแนะนำคณะกรรมการกองทุนฯ
ได้ดำเนินการให้คำแนะนำคณะกรรมการบริหารหองทุนฯ คณะอนุกรรมการ จำนวน 45 คน เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ ตามประกาศฯ 2557 และเยี่ยมการตรวจสอบการดำเนินกรรมและโครงการฯ
ให้ความรู้แก่คณะุกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ เจ้าหน้าดูแลกองทุนฯ ของ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ละงู จำนวน 42 คน มีกิจกรรมดังนี้ 1.ชี้แจงนโยบาย ทิศทาง แนวทางการดำเนินงานกองทุนสุขภาพฯ ปีงบประมาณ 2561 2.อธิบายประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ อปท.ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ พ.ศ. 2557 3.อธิบายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ เรื่อง การจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนฯ พ.ศ. 2557 4.การจัดทำแผนงาน/โครงการ กิจกรรม 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ กิจกรรมทางกาย 6.บอกวิธีการเข้าถึง/การใช้โปรแกรมของ สปสช. 7.บอกวิธีการค้นหาระเบียบ แบบฟอร์ม คู่มือ เอกสาร ที่ใช้ประกอบการทำงานกองทุนฯ 8.เปิดให้ผู้เข้ารับฟังได้ซักถาม
ให้ความรู้แก่คณะุกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ เจ้าหน้าดูแลกองทุนฯ ของ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ละงู จำนวน 42 คน มีกิจกรรมดังนี้ 1.ชี้แจงนโยบาย ทิศทาง แนวทางการดำเนินงานกองทุนสุขภาพฯ ปีงบประมาณ 2561 2.อธิบายประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ อปท.ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ พ.ศ. 2557 3.อธิบายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ เรื่อง การจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนฯ พ.ศ. 2557 4.การจัดทำแผนงาน/โครงการ กิจกรรม 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ กิจกรรมทางกาย 6.บอกวิธีการเข้าถึง/การใช้โปรแกรมของ สปสช. 7.บอกวิธีการค้นหาระเบียบ แบบฟอร์ม คู่มือ เอกสาร ที่ใช้ประกอบการทำงานกองทุนฯ 8.เปิดให้ผู้เข้ารับฟังได้ซักถาม
การประเมินผลเบื้องต้น
1. คณะกรรมการบริหารฯ คณะอนุกรรมการ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในระเบียบการปฏิบัติงาน ทำให้การพิจารณาแผนงาน/โครงการ ของกองทุนฯ ดำเนินไปไม่ได้ตามวัตถุประสงค์กองทุนฯเท่าที่ควร
2. ผู้ปฏิบัติงานของกองทุนฯยังขาดทักษะในการลงข้อมูลในโปรแกรมฯ
3. การปฏิบัติงานกองทุนฯผู้บริหารมอบหมายให้้กองสาธารณสุขฯ เป็นผู้ดำเนินงาน กำลังเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขมีน้อยและภาระงานล้น เป็นเหตุให้การดำเนินงานไม่ได้ตามเป้าหมายเท่าที่ควร
ผลผลิต/ผลลัพท์
1. คณะกรรมการบริหารฯ และคณะอนุกรรมการ ได้รับการทบทวนความรู้และแนวทางปฏิบัติเพิ่มขึ้น สังเกตุจาการ ซักถาม การพูดคุยระหว่างกรรมการด้วยกัน มีทิศทางการดำเนินงานกองทุนไปในทางที่ดี
2. จนท.ผู้รับผิดชอบงานได้มีความสนใจและโทรศัพท์สอบถามบ่อยครั้ง ถึงแนวทางปฏิบัติงาน จนถึงวันนี่้ 14 ธันวาคม 2560
3. คณะอนุกรรมการหลายท่านในกองทุนได้โทรศัพท์สอบถามวิธีการเขียนแผนงาน/โครงการ กิจกรรม และการจัดการงบประมาณในโครงการอย่างต่อเนื่องเกือบทุกวัน
ข้อเสนอแนะ
1. พี่เลี้ยงกองทุนฯ คก.จาก สปสช. ควรฟื้นฟูความรู้ให้คณะกรรมการฯ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2. คณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการฯ ควรมีคู่มือ แนวทางปฏิบัติให้คณะกรรมการทุกคน
3. ควรประชาสัมพันธ์ให้คณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการฯ สามารถเข้าถึงโปรแกรมกองทุนฯได้
- แนะนำตัวกับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ
- พูดคุย สอบถาม แนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ
- แนะนำการสมทบงบประมาณกองทุนฯ และอธิบายแนวทางการดำเนินงานกองทุนฯตามปฏิทินการปฏบัติงาน
แนะนำการบันทึกกิจกรรมโครงการปีงบประมาณ 2560 ยังค้างอีก 2 โครงการแนะนำการบันทึกแผนงานโคงการปีงบประมาณ 2561 และเขียนรายละเอียดโครงการการประเภทที่ 4 ของปีงบประมาณ 2561
ศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.ในพื้นที่ จ.สตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จำนวน 10 กองทุนประกอบด้วย ทต.กำแพง อบต.ละงู อบต.กำแพง อบต.ปากน้ำ อบต.น้ำผุด อบต.เขาขาว อบต.แหลมสน อบต.สาคร อบต.นาทอน และอบต.ปาล์มพัฒนา โดยจะกำหนดในการพัฒนาศักยภาพกองทุนในวันที่ 8 ธ.ค. 60 ณ อบต.กำแพง
จัดกิจกรรมวันที่ 28 พ.ย. 60 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 6 คน เป็นการประชุมเพื่อกำหนดทิศทางในการทำงานของพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดสตูล โดยมีการร่วมกันกำหนดพื้นที่นำร่องในการดำเนินการเสริมสร้างศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.ในพื้นที่ จ.สตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จำนวน 10 กองทุนประกอบด้วย ทต.กำแพง อบต.ละงู อบต.กำแพง อบต.ปากน้ำ อบต.น้ำผุด อบต.เขาขาว อบต.แหลมสน อบต.สาคร อบต.นาทอน และอบต.ปาล์มพัฒนา โดยจะกำหนดในการพัฒนาศักยภาพกองทุนในวันที่ 8 ธ.ค. 60 ณ อบต.กำแพง

1.ประสานกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เพื่อนัดวัน เวลา ในการลงพื้นที่ไป อบต.ควนโพธิ์ 2. ลงพื้นที่ อบต.ควนโพธิ์ ปรับแผนสุขภาพให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ผลผลิต จากการลงพื้นที่ได้พบกับเจ้าพนักงานสาธารณสุขรักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขอบต.ควนโพธิ์ ซึ่งทาง อบต.ควนโพธิ์ได้จัดทำแผนสุขภาพ ทั้งหมด 3 แผนงาน ประกอบด้วย แผนงานเกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง, แผนงานเด้ก เยาวชน ครอบครัว และแผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ อบต.ควนโพธิ์ได้พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ และเป็นไปตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
- แนะนำตัว ทำความรู้จักกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานและผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ 2.สอบถาม ระบบการดำเนินงานกองทุนฯอบต.ควนขัน
- แนะนำให้เขียนโครงการประเภทที่ 4 ประจำปีงบประมาณ 2561
ติดตามการบันทึกกิจกรรมโครงการปีงบประมาณ 2560 แนะนำการบันทึกแผนงานโครงการปีงบประมาณ 2561 แนะนำการประเมินตนเองปีงบประมาณ 2560 แนะนำการบันทึกรายละเอียดโครงการประเภทที่ 4 ปีงบประมาณ 2561 ยังมีหลายโครงการที่อยู่ระหว่างการสรุปผลการดำเนินงาน
- แนะนำตัว ทำความรู้จักกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานและผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ 2.สอบถาม ระบบการดำเนินงานกองทุนฯอบต.เจ๊ะบิลัง
- แนะนำให้เขียนโครงการประเภทที่ 4 ประจำปีงบประมาณ 2561
แนะนำผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ เรื่องรายงานการเงินประจำเดือน ประจำไตรมาส การบันทึกกิจกรรมโครงการปีงบประมาณ 2560 แนะนำแนวทางการจัดทำแผนงานโครงการ แนะนำการประเมินตนเองในเว็บไซค์
ศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.ในพื้นที่ จ.สตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จำนวน 10 กองทุนประกอบด้วย ทต.กำแพง อบต.ละงู อบต.กำแพง อบต.ปากน้ำ อบต.น้ำผุด อบต.เขาขาว อบต.แหลมสน อบต.สาคร อบต.นาทอน และอบต.ปาล์มพัฒนา โดยจะกำหนดในการพัฒนาศักยภาพกองทุนในวันที่ 8 ธ.ค. 60 ณ อบต.กำแพง
จัดกิจกรรมวันที่ 28 พ.ย. 60 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 6 คน เป็นการประชุมเพื่อกำหนดทิศทางในการทำงานของพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดสตูล โดยมีการร่วมกันกำหนดพื้นที่นำร่องในการดำเนินการเสริมสร้างศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท.ในพื้นที่ จ.สตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จำนวน 10 กองทุนประกอบด้วย ทต.กำแพง อบต.ละงู อบต.กำแพง อบต.ปากน้ำ อบต.น้ำผุด อบต.เขาขาว อบต.แหลมสน อบต.สาคร อบต.นาทอน และอบต.ปาล์มพัฒนา โดยจะกำหนดในการพัฒนาศักยภาพกองทุนในวันที่ 8 ธ.ค. 60 ณ อบต.กำแพง

ลงพื่นที่เพื่อติดตามกองทุนฯ การใช้จ่ายงบปงบประมาณ แผนงานโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์กองทุน
จากการลงติดตามกองทุน คณะกรรมการให้การตอนรับเป็นอย่างดี ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุนในปีที่ผ่านมาและปีงบประมาณ 2561 มีการดเนินงานตามแผนงาน ซึ่งกชับให้มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯและพิจารณาอนุมัติแผนงานโครงการภายในเดือนมีนาคม 2561
เยี่ยมติดตามกองทุนอบต.แป-ระ ครั้งที่ 1
ให้คำแนะนำในการพิจารณาโครงการ
- ให้คำแนะนำการพิจารณาคัดกรองโครงการแก่คณะอนุกรรมการ
- แนะนำการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม
- แนะนำการบันทึกแผน

1.ประสานกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉลุง เพื่อนัดวัน เวลา ในการลงพื้นที่ไป อบต.ฉลุง 2. ลงพื้นที่ อบต.ฉลุง ปรับแผนสุขภาพให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ผลผลิต จากการลงพื้นที่ เพื่อปรับแผนสุขภาพของอบต.ฉลุง ได้พบกับผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม และผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการแต่ไม่ได้เป็นผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ อบต.ฉลุงได้จัดทำแผนสุขภาพ ทั้งหมด 8 แผนงาน ประกอบด้วย แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง, แผนงานสิ่งแวดล้อม, แผนงานโรคเรื้อรัง, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานสารเสพติด, แผนงานบุหรี่, แผนงานคนพิการ และแผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ อบต.ฉลุงได้พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉลุง และเป็นไปตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปัญหาในการดำเนินงาน เนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสอบบรรจุเข้ารับราชการได้จึงย้ายสถานที่ทำงาน ทำให้ไม่มีผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ทำให้ไม่มีผู้บันทึกข้อมูล

จากการติดตามกองทุนฯอบต.วังประจัน ครั้งที่1/2561 พบว่า มีการดำเนินงานกองทุน เป็นไปตามแผนงานโครงการ มีการจัดทรายงานการเงินเป็นปัจจุบัน มีการจัดทำแผนงานโครงการกองทุนฯปี 2561
ประกอบด้วย

1.ประสานกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกตรี เพื่อนัดวัน เวลา ในการลงพื้นที่ไป อบต.เกตรี 2. ลงพื้นที่ อบต.เกตรี ปรับแผนสุขภาพให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ผลผลิต จากการลงไปยัง อบต.เกตรี ได้พบกับ ผอ.กองสาธารณสุขฯ ผู้ช่วยเจ้าพนักงานสาธารณสุข และ เจ้าพนักงานธุรการ โดยได้แนะนำการจัดทำแผนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ อบต.เกตรีได้จัดทำแผนสุขภาพ ทั้งหมด 8 แผนงาน ประกอบด้วย แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด, แผนงานคนพิการ, แผนงานเด็ก เยาวชน และครอบครัว, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานผู้สูงอายุ, แผนงานสารเสพติด, แผนงานบุหรี่ และแผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ อบต.เกตรีได้พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกตรี และเป็นไปตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1 กองทุนฯ อบต.กำแพง 2 กองทุนฯ ทต.ทุ่งหว้า 3 กองทุนฯ อบต.ละงู 4 กองทุนฯ อบต.ขอนคลาน 5 กองทุนฯ อบต.เขาขาว 6 กองทุนฯ อบต.ท่าแพ 7 กองทุนฯ อบต.ทุ่งบุหลัง 8 กองทุนฯ อบต.น้ำผุด 9 กองทุนฯ อบต.ทุ่งหว้า 1 0กองทุนฯ ทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพธ์ : จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง : มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา
00

จากการลงติดตาม กองทุนฯอบต.ควนสตอครั้งที่1/2561 คณะกรรมการให้การต้อนรับเป็นกันเอง มีการกระตือรือร้นสักถามเกี่ยวการการดำเนินงานกองทุนฯ มีการดำเนินงานตามแผนงานงานกองทุน/2561 กำชับให้มีการประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานโครงการ และเบิกจ่ายงบประมาณโครงการภายในเดือนมีนาคม 2561
ประกอบด้วย

ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1 กองทุนฯ อบต.กำแพง 2 กองทุนฯ ทต.ทุ่งหว้า 3 กองทุนฯ อบต.ละงู 4 กองทุนฯ อบต.ขอนคลาน 5 กองทุนฯ อบต.เขาขาว 6 กองทุนฯ อบต.ท่าแพ 7 กองทุนฯ อบต.ทุ่งบุหลัง 8 กองทุนฯ อบต.น้ำผุด 9 กองทุนฯ อบต.ทุ่งหว้า 1 0กองทุนฯ ทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพธ์ : จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง : มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา
ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1 กองทุนฯ อบต.กำแพง 2 กองทุนฯ ทต.ทุ่งหว้า 3 กองทุนฯ อบต.ละงู 4 กองทุนฯ อบต.ขอนคลาน 5 กองทุนฯ อบต.เขาขาว 6 กองทุนฯ อบต.ท่าแพ 7 กองทุนฯ อบต.ทุ่งบุหลัง 8 กองทุนฯ อบต.น้ำผุด 9 กองทุนฯ อบต.ทุ่งหว้า 1 0กองทุนฯ ทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพธ์ : จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง : มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา

ผลผลิต : ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1 กองทุนฯ อบต.กำแพง 2 กองทุนฯ ทต.ทุ่งหว้า 3 กองทุนฯ อบต.ละงู 4 กองทุนฯ อบต.ขอนคลาน 5 กองทุนฯ อบต.เขาขาว 6 กองทุนฯ อบต.ท่าแพ 7 กองทุนฯ อบต.ทุ่งบุหลัง 8 กองทุนฯ อบต.น้ำผุด 9 กองทุนฯ อบต.ทุ่งหว้า 1 0กองทุนฯ ทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพธ์ : จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง : มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา
ผลผลิต : ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1 กองทุนฯ อบต.กำแพง 2 กองทุนฯ ทต.ทุ่งหว้า 3 กองทุนฯ อบต.ละงู 4 กองทุนฯ อบต.ขอนคลาน 5 กองทุนฯ อบต.เขาขาว 6 กองทุนฯ อบต.ท่าแพ 7 กองทุนฯ อบต.ทุ่งบุหลัง 8 กองทุนฯ อบต.น้ำผุด 9 กองทุนฯ อบต.ทุ่งหว้า 1 0กองทุนฯ ทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพธ์ : จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง : มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา

ผลผลิต : ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1กองทุนฯอบต.กำแพง 2กองทุนฯทต.ทุ่งหว้า 3กองทุนฯอบต.ละงู 4กองทุนฯอบต.ขอนคลาน 5กองทุนฯอบต.เขาขาว 6กองทุนฯอบต.ท่าแพ 7กองทุนฯอบต.ทุ่งบุหลัง 8กองทุนฯอบต.น้ำผุด 9กองทุนฯอบต.ทุ่งหว้า 10กองทุนฯทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพท: จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง:มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา
ผลผลิต : ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1กองทุนฯอบต.กำแพง 2กองทุนฯทต.ทุ่งหว้า 3กองทุนฯอบต.ละงู 4กองทุนฯอบต.ขอนคลาน 5กองทุนฯอบต.เขาขาว 6กองทุนฯอบต.ท่าแพ 7กองทุนฯอบต.ทุ่งบุหลัง 8กองทุนฯอบต.น้ำผุด 9กองทุนฯอบต.ทุ่งหว้า 10กองทุนฯทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพท: จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง:มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา

1.ประสานกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ย่านซื่อ เพื่อนัดวัน เวลา ในการลงพื้นที่ไป อบต.ย่านซื่อ 2. ลงพื้นที่ อบต.ย่านซื่อ ปรับแผนสุขภาพให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ผลผลิต อบต.ย่านซื่อได้จัดทำแผนสุขภาพ ทั้งหมด 8 แผนงาน ประกอบด้วย แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด, แผนงานสิ่งแวดล้อม, แผนงานโรคเรื้อรัง, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานสารเสพติด, แผนงานบุหรี่ และแผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ อบต.ย่านซื่อได้พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ย่านซื่อ และเป็นไปตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

จากการลงติดตาม กองทุนฯครั้งที่1/2561 การบริหารจัดการ กองทุนดำเนินตามแผนงาน แต่ยังไม่ได้มีการประชุมคณะกรรมการกองทุน ซึ้งต้องรองบประมาณการจัดสรรจาก สปสช.คณะกรรมการมีความกระตือรือร้นและได้ซักถามเกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุนฯ
ประกอบด้วย

ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1 กองทุนฯ อบต.กำแพง 2 กองทุนฯ ทต.ทุ่งหว้า 3 กองทุนฯ อบต.ละงู 4 กองทุนฯ อบต.ขอนคลาน 5 กองทุนฯ อบต.เขาขาว 6 กองทุนฯ อบต.ท่าแพ 7 กองทุนฯ อบต.ทุ่งบุหลัง 8 กองทุนฯ อบต.น้ำผุด 9 กองทุนฯ อบต.ทุ่งหว้า 1 0กองทุนฯ ทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพธ์ : จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง : มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา
ให้ความรู้เกี่่ยวกับระเบียบกองทุนฯ แนะนำการลงบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์ แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย แก่กองทุนสุขภาพฯ จำนวน 10 กองทุน คือ 1 กองทุนฯ อบต.กำแพง 2 กองทุนฯ ทต.ทุ่งหว้า 3 กองทุนฯ อบต.ละงู 4 กองทุนฯ อบต.ขอนคลาน 5 กองทุนฯ อบต.เขาขาว 6 กองทุนฯ อบต.ท่าแพ 7 กองทุนฯ อบต.ทุ่งบุหลัง 8 กองทุนฯ อบต.น้ำผุด 9 กองทุนฯ อบต.ทุ่งหว้า 1 0กองทุนฯ ทต.กำแพง เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง มาครบทั้ง 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายผู้รับผิดชอบกองทุนฯ คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมาย ปลัด/ผอ.กองฯผู้รับผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 40 เป้าหมาย นายก อปท. คิดเป็นร้อยละ 0 ผลลัพธ์ : จากการให้ทดลองปฏิบัติจริง โดยให้นำโน๊ตบุ๊ค มาลงมือปฏิบัติจริง ทั้ง 10 แห่ง สามารถดำเนินการได้ถูกต้อง และจากการสอบถามความรู้ที่ได้รับ ทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (ประเมินจากการสอบถามและการซักถาม) พี่เลี้ยง : มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมนี้ด้วยกัน 3 ท่าน คือ นายลิขิต อังศุภานิช นางสาวสุมาลี โอมณี และนางสาวพนิดา เหมรา