กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชนอย่างเป็นระบบและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน 2.มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ชัดเจน 3.มีแผนการดำเนินงาน 4.มีการประชุมทุก 2 เดือน 5.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดการขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00

 

2 2.เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างหลักสูตรเรียนรู้ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายจัดการขยะอินทรีย์ได้อย่างถูกวิธีและยั่งยืน อย่างน้อย 90% 2.มีการบันทึกการจัดการขยะอย่างเป็นรูปธรรม (ครัวเรือนเป็นผู้บันทึกข้อมูลลงในสมุด สมุดพกปกเขียว โดยมีคณะทำงานเป็นผู้ตรวจสอบ)
0.00

 

3 3.เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีการติดตามการจัดการขยะในกลุ่มเป้าหมายทุก 3 เดือน เพื่อส่งมอบคนดีมีรางวัลสู่สังคม 2.มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 110 แห่ง 3.หนองน้ำปลอดภัย 4.ถนนปลอดขยะ 1 สาย
0.00

 

4 4.เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ปริมาณขยะที่เทศบาลตำบลหารเทาจัดเก็บลดลงร้อยละ 30 2.มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือนและระดับชุมชนอย่างเป็นระบบและยั่งยืน (2) 2.เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างหลักสูตรเรียนรู้ในสถานศึกษา (3) 3.เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ (4) 4.เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (2) 2.การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ จำนวน 6 ครั้ง (3) 3.เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (4) 4.พัฒนาศักยภาพบูรณาการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม (5) 5.ให้ความรู้การจัดการขยะให้กับกลุ่มเป้าหมาย (6) 6.รักษ์หารเทา (7) 7.การติดตามประเมินผลเชิงรุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh