กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชาวคลองแหร่วมใจ ไวรัสตับอักเสบบี - ซี หมดไปจากคลองแห ประจำปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสันติ เหมมันต์




ชื่อโครงการ โครงการชาวคลองแหร่วมใจ ไวรัสตับอักเสบบี - ซี หมดไปจากคลองแห ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7255-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวคลองแหร่วมใจ ไวรัสตับอักเสบบี - ซี หมดไปจากคลองแห ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวคลองแหร่วมใจ ไวรัสตับอักเสบบี - ซี หมดไปจากคลองแห ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวคลองแหร่วมใจ ไวรัสตับอักเสบบี - ซี หมดไปจากคลองแห ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7255-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,910.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไวรัสตับอักเสบบี และ ซี เป็นสาเหตุสำคัญของโรคตับแข็งและมะเร็งตับ อันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่พบผู้ติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบ บี ในระดับที่สูงและมีแนวโน้มพบผู้เสียชีวิตจากตับแข็งและมะเร็งตับเพิ่มขึ้น คาดประมาณผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บีเรื้อรัง ประมาณ 2.2 – 3 ล้านคน ผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซีเรื้อรัง ประมาณ 3 – 8 แสนคน โดยพบความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บีและซี ชนิดเรื้อรังกระจายตัวแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค พบมากในประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป การเร่งรัดจัดการแก้ไขปัญหาโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรังอย่างบูรณาการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการกำจัด โรคไวรัสตับอักเสบให้หมดไปภายในปี พ.ศ. 2573 จำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนางานให้เข้มแข็งและเป็นระบบ และต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน การดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ด้วยการตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี รวมถึงให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี หากตรวจไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และตรวจไม่พบภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ บี โดยมีจุดมุ่งหมายให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ในพื้นที่สามารถเข้าถึงการตรวจคัดกรองหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และซี ได้ง่าย สะดวก และได้รับการส่งต่อเข้าสู่กระบวนการทางสาธารณสุขให้ได้รับการรักษาต่อไป อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นและยั่งยืน จากการสำรวจประชากรกลุ่มเสี่ยงพบว่า ประชากรที่เกี่ยวข้องกับการคัดแยกขยะและรีไซเคิลขยะ เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อผลกระทบทางสุขภาพและโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและซีจากการถูกของมีคมทิ่มตำ ดังนั้นในการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยจากการประกอบอาชีพของกลุ่มอาชีพนี้ ซึ่งถือว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและความปลอดภัยในการทำงาน ประกอบกับทางกรมควบคุมโรค กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สนับสนุนชุดตรวจคัดกรองหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี แบบเร็ว (Repid test) งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพประชากรที่เกี่ยวข้องกับการคัดแยกขยะและรีไซเคิลขยะภายในเขตเทศบาลเมืองคลองแห จึงได้จัดทำโครงการชาวคลองแหร่วมใจ ไวรัสตับอักเสบบี- ซี หมดไปจากคลองแห ขึ้น เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบี และซี เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่อเข้าสู่ระบบการรักษา ให้ได้รับการรักษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี เพื่อทราบสถานะการติดเชื้อและเข้าถึงการรักษา รวมถึงได้รับการป้องกันจากโรคไวรัสตับอักเสบ บีและ ซี หากตรวจไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี และตรวจไม่พบภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี (ร้อยละ))
  2. เพื่อลดโอกาสการแพร่กระจายเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ในประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และซี แต่ไม่แสดงอาการ (ร้อยละ)
  3. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ได้อย่างเหมาะสม (ร้อยละ))

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. ตรวจคัดกรอง ไวรัสตับอักเสบบี และซี
  4. อบรมให้ความรู้เรื่องไวรัสตับอักเสบบี และซี
  5. ประชุมสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชากรที่เกี่ยวข้องกับการคัดแยกขยะภายในทม.คลองแห 120

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องไวรัสตับอักเสบบี และซี

2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบี และซี และได้รับความรู้เบื้องต้นในการดูแลสุขภาพตัวเอง

3.ผู้สงสัยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และซี ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องไวรัสตับอักเสบบี และซี

วันที่ 5 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รัยการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบีและซี

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไวรัสตับอักเสบบีและซี การป้องกัน และการรักษาเพื่อป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ เรื่องไวรัสตับอักเสบบีและซี

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากไวรัสตับอักเสบบีและซี

 

0 0

2. ตรวจคัดกรอง ไวรัสตับอักเสบบี และซี

วันที่ 17 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมจำนวน 3 รุ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ เรื่องไวรัสตับอักเสบบี และซี

ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงโรคที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และซี

ผู้เข้าร่วมได้รับการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบีและซี

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี เพื่อทราบสถานะการติดเชื้อและเข้าถึงการรักษา รวมถึงได้รับการป้องกันจากโรคไวรัสตับอักเสบ บีและ ซี หากตรวจไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี และตรวจไม่พบภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี (ร้อยละ))
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบี และซี (ร้อยละ)
40.00 90.00

 

2 เพื่อลดโอกาสการแพร่กระจายเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ในประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และซี แต่ไม่แสดงอาการ (ร้อยละ)
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสงสัยเป็นโรคไวรัสตับอักเสบบี และซี ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง (ร้อยละ)
40.00 90.00

 

3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ได้อย่างเหมาะสม (ร้อยละ))
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี เพิ่มขึ้นหลังรับการอบรม (ร้อยละ)
40.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชากรที่เกี่ยวข้องกับการคัดแยกขยะภายในทม.คลองแห 120

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี เพื่อทราบสถานะการติดเชื้อและเข้าถึงการรักษา รวมถึงได้รับการป้องกันจากโรคไวรัสตับอักเสบ บีและ ซี หากตรวจไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี และตรวจไม่พบภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี (ร้อยละ)) (2) เพื่อลดโอกาสการแพร่กระจายเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ในประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และซี แต่ไม่แสดงอาการ (ร้อยละ) (3) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และการป้องกันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ได้อย่างเหมาะสม (ร้อยละ))

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) ตรวจคัดกรอง ไวรัสตับอักเสบบี และซี (4) อบรมให้ความรู้เรื่องไวรัสตับอักเสบบี และซี (5) ประชุมสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวคลองแหร่วมใจ ไวรัสตับอักเสบบี - ซี หมดไปจากคลองแห ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7255-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสันติ เหมมันต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด