กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฟารีดะห์ ฮาแวมาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L6959-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L6959-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นสภาวะที่สภาพร่างกายของคนเกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนอย่างต่อเนื่อง ขณะตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงในช่องปากที่พบได้บ่อย คืออัตราไหลของน้ำลายลดลง เหงือกอักเสบ(การอักเสบของเหงือกและมีเลือดออกเหงือกบวมแดงเหงือกโตผิดปกติ) ฟันผุ และการสึกกร่อนของฟัน เป็นต้น โรคในช่องปากที่มีโอกาสพบมากในหญิงตั้งครรภ์คือเหงือกอักเสบโรคปริทันต์และโรคฟันผุหญิงตั้งครรภ์มีโอกาสเกิดเหงือกอักเสบรุนแรงกว่าช่วงเวลาอื่น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน และอาจเกิดฟันผุได้มากขึ้นเนื่องจากรับประทานอาหารบ่อยขึ้น และการมีอนามัยช่องปากที่ไม่ดีอาการอาเจียนบ่อยๆขณะแพ้ท้องอาจทำให้เกิดฟันสึกกร่อนจากการสัมผัสน้ำย่อยที่เป็นกรด ภาวการณ์เป็นโรคปริทันต์ หรือเหงือกอักเสบ อาจส่งผลต่อคุณภาพของการตั้งครรภ์และการคลอด มีการศึกษาที่ยืนยันถึงความสัมพันธ์ของโรคปริทันต์กับการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนดและเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ซึ่งยังเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทยจากการศึกษาของสำนักทันตสาธารณสุขพบว่า หญิงตั้งครรภ์มีฟันผุเฉลี่ย๖.๖ ซี่ ร้อยละ ๙๐.๔มีเหงือกอักเสบร้อยละ ๘๙.๖๐ และจากการศึกษาข้อมูลของหญิงตั้งครรภ์ในเขตตำบลลุโบะสาวอ ในปี ๒๕๕๙ จำนวน ๑๑๐ คน พบว่าหญิงตั้งครรภ์มีฟันผุเฉลี่ย๕.๒ ซี่ ร้อยละ๙๔.๕๔มีเหงือกอักเสบ ร้อยละ ๙๔.๕๔ ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่มีควาเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคฟันผุทั้งปาก พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของหญิงตั้งครรภ์ยังส่งผลต่อการเกิดฟันผุของลูกในอนาคตเพราะเชื้อโรคที่ทำให้ฟันผุสามารถส่งต่อจากแม่หรือคนเลี้ยงไปสู่เด็กผ่านทางน้ำลายดังนั้นแม่ที่อนามัยช่องปากไม่สะอาดมีฟันผุมากจึงมีโอกาสสูงมากขึ้นที่จะส่งผ่านเชื้อไปสู่ลูกแม่ที่มีฟันผุสูงมีโอกาสที่จะส่งผ่านเชื้อที่ทำให้ฟันผุไปยังลูกผ่านทางน้ำลายโดยเด็กที่ได้รับเชื้อที่ทำให้ฟันผุตั้งแต่อายุน้อยร่วมกับการกินอาหารที่มีน้ำตาลสูงจะเกิดฟันผุรวดเร็วและรุนแรงนอกจากนี้การตรวจสุขภาพช่องปากและให้คำแนะนำรวมถึงให้บริการขูดหินน้ำลายยังช่วยลดอัตราการเกิดเหงือกอักเสบในหญิงตั้งครรภ์ได้กว่าครึ่งรวมทั้งการสร้างทัศนคติและทักษะให้แม่สามารถดูแลช่องปากของตนเองได้ดีจะส่งผลต่อทักษะการดูแลลูกต่อไปในอนาคต ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อมุ่งเน้นให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเองและลูกได้ถูกต้องและเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเองและลูก
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจประเมินสุขภาพช่องปาก
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. เพื่อให้ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลทันตสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 124
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและลูก ๒. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจประเมินสุขภาพช่องปากทุกคน ๓. หญิงตั้งครรภ์สามารถแปรงฟันได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ๔. อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของหญิงตั้งครรภ์


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเองและลูก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจประเมินสุขภาพช่องปาก
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลทันตสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 124
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 124
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเองและลูก (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจประเมินสุขภาพช่องปาก (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันอย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลทันตสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L6959-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฟารีดะห์ ฮาแวมาเนาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด