กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง


“ โครงการพัฒนาการเด็กปฐมวัยเล่นเปลี่ยนโลก ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางปาริชาติ ขุนจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการเด็กปฐมวัยเล่นเปลี่ยนโลก

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3329-2-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาการเด็กปฐมวัยเล่นเปลี่ยนโลก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาการเด็กปฐมวัยเล่นเปลี่ยนโลก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาการเด็กปฐมวัยเล่นเปลี่ยนโลก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3329-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพปัจจุบันการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการประกอบอาชีพ ซึ่งบางครอบครัวไม่ได้อยู่กับพ่อและแม่ ในยุคปัจจุบันที่ก้าวทันต่อเทคโนโลยี สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มือถือ ในการเล่นและทำกิจกรรมต่างๆ กับเด็กปฐมวัย ร้อยละ 67.30 (กรมอนามัย,2559) สถานการณ์การตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ 2559 – 2561 พบว่า เด็กมีพัฒนาการสมวัยในครั้งแรกมีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 86.22 ร้อยละ 83.61 และร้อยละ 78.82 ซึ่งไม่สมวัยด้านการเคลื่อนไหว ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก และด้านการใช้ภาษา ส่งผลไปยังสถานการณ์ระดับสติปัญญาเด็กไทย ปี 2559 พบว่าเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มี IQ ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ (IQ น้อยกว่า 90 ) อยู่ถึง 31.81 (ไม่ควรเกิน ร้อยละ 25 )(สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต , 2559) การเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ผ่านการเล่น (มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก,2522) ในศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงเวลาที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปรวดเร็ว ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมตั้งแต่เด็กให้มีทักษะสำหรับการดำรงชีวิตให้ทันต่อโลก และตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ 2560 – 2579) ให้ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพในเด็กปฐมวัย กำหนดเป็น ‘ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์” ด้วยการส่งเสริมพัฒนาการและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ผ่านการเล่น เพื่อเตรียมความพร้อมพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการและทักษะที่จำเป็น อีกทั้งแก้ไขปัญหาแนวโน้มการตรวจพบพัฒนาการล่าช้าให้น้อยลง
หากประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ตระหนักในการดูแลเลี้ยงดูเด็ก รวมทั้งมีทักษะในการเล่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสม จะสามารถดูแลเด็กที่อยู่ในช่วงปฐมวัย ลดโอกาสการคัดกรองพบพัฒนาการล่าช้าในกลุ่มเด็กปฐมวัยในแต่ละช่วงอายุ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ศูนย์สุขภาพชุมชนควนเสาธงได้ตระหนักถึงความสำคัญที่จะดูแลส่งเสริมพัฒนาการเด็กผ่านการเล่น ตามหลักทฤษฎี 3 F ( Family Free Fun ) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสม มีทักษะในการเล่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กภายใต้โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยเล่นเปลี่ยนโลก จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในครั้งนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลเด็กและการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก แต่ละช่วยอายุ ผ่านการเล่นเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70
    2. เพิ่มอัตราการตรวจคัดกรองพัฒนาการพบสมวัย ในเด็กอายุ 0 – 5 ปี มากกว่าร้อยละ 90 ตามเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
    3. ลดอัตราการตรวจคัดกรองพัฒนาการพบสงสัยล่าช้าในเด็กอายุ 0 – 5 ปีน้อยกว่า 20 ตามเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผู้เข้าร่วมประชุม เป็นเพศชายร้อยละ 9.73 (4 คน) เพศหญิง ร้อยละ 90.27 (37 คน) อายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 25-45 ปี ร้อยละ 78.05 (32 คน) และช่วงอายุ 45-65 ปี ร้อยละ 21.95 (9 คน) ผู้เข้าร่วมโครงการสัมพันธ์กับเด็ก 0-5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี พบว่าอยู่ในสถานภาพเป็น มารดา/บิดา ร้อยละ 90.27 (37 คน) ปู่/ย่า ร้อยละ 4.87 (2 คน) ตา/ยาย ร้อยละ 2.43 (1 คน) ลุง/ป้า ร้อยละ 2.43 (1 คน) ผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจในภาพรวมของการอบรมในครั้งนี้อยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 97.56 (40 คน) และอยู่ในระดับมาก ร่อยละ 2.44 (1 คน) และ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 92.68 (38 คน อีก 3 คน ออกก่อนครบเวลาเลิกการอบรม) ก่อนเข้าร่วมโครงการ พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยที่ 6.50 คะแนน หลังดำเนินโครงการ พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยที่ 8.50 คะแนน

    ปัญหา/สุปสรรค 1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีการประกอบที่หลากหลาย ไม่สะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรมในช่วงจัดกิจกรรม 2.ผู้เข้าร่วมประชุมพาเด็กในการเข้าร่วมกิจกรรม จึงเกิดความวุ่นวายและรบกวนต่อการอบรม 3.วิทยากรควรเพิ่มช่องทางในการเข้าร่วมของเด็กปฐมวัยมากขึ้นกว่านี้ ไม่ให้เกิดความน่าเบื่อ และวุ่นวาย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาการเด็กปฐมวัยเล่นเปลี่ยนโลก จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 65-L3329-2-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปาริชาติ ขุนจันทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด