โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง ”
ศพด.สังกัด อบ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวดูนียานา หะยีสะมะแอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง
ที่อยู่ ศพด.สังกัด อบ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 65-L4159-3-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศพด.สังกัด อบ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง " ดำเนินการในพื้นที่ ศพด.สังกัด อบ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4159-3-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,214.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็กวัยรุ่น ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่มีอยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการการเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่ีมีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ได้แก่ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม เช่น อาหารที่ได้รับแต่ละมื้อมีสารอาหารไม่ครบ 5 หมู่ เป็นต้น
จากกการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2565 พบว่าร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอมในพื้นที่ตำบลท่าธงโดยเฉลี่ย สูงถึง 25.26% ซึ่งเด็กเหล่านั้นบางส่วนกำลังเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าธง สาเหตุดังกล่าวมาจากผู้ปกครองไม่จัดอาหารมื้อเช้าหรือจัดอาหารมื้อเช้าไม่เหมาะสมและไม่มีประโยชน์ต่อเด็ก เช่น ขนมคบเคี้ยว ทำให้อาหารมื้อเช้าซึ่งเป็นมื้ออาหารที่สำคัญมากแต่เด็กได้รับไม่ถูกต้องส่งผลต่อสุขภาพของเด็กกองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนตำบลท่าธงเล็งเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังทางโภชนาการของเด็กนักเรียนในสังกัด จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กที่ถูกต้องและสร้างความตระหนักด้านอาหารและโภชนาการให้แก่เด็ก ผู้จัดทำอาหารและผู้ปกครอง
- เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่เหมาะสมตามวัยครบ 5 หมู่
- เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
- ติดตามประเมินผลโครงการ
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
- ชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 ครั้ง (ทุก 30 วัน) นำข้อมูลประมวลผล
- กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกรกฎาคม
- งบประมาณที่เหลือจากการดำเนินโครงการในกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหาร
- จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครองของเด็กเป้าหมาย
- กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนสิงหาคม
- กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกันยายน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครูผู้ดูแลเด็กและเจ้าหน้าที่
10
ผู้จัดทำอาหารและพี่เลี้ยงเด็ก
2
เจ้าหน้าที่
13
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กได้อย่างถูกต้อง
2 เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมตามวัยสามารถแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กได้
3 เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกิดการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
0
0
2. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกรกฎาคม
วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดเมนูอาหารให้เด็กนักเรียน จำนวน 47 วัน จำนวน 8 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กได้รับโภชนาการอาหารที่สมวัย
เด็กมีสมาธิในการเรียน
47
0
3. ชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 ครั้ง (ทุก 30 วัน) นำข้อมูลประมวลผล
วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง/ประมวลผล จำนวน 2 ครั้ง (วันที่ 31 ส.ค 65 และวันที่ 30 ก.ย 65)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กมีน้ำหนักดี สูงดี สมส่วน
8
0
4. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครองของเด็กเป้าหมาย
วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆ ให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครองของเด็กเป้าหมาย หัวข้อดังนี้
1.ภาวะทุพโภชนาการ อาการ สาเหตุ การรักษาและการป้องกันภาวะทุพโภชนาการ
2.การปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก
3.การฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆที่เหมาะสมตามวัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กได้อย่างถูกต้อง
เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมตามวัยสามารถแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กได้
เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
75
0
5. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนสิงหาคม
วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอาหารมื้อเช้าให้เด็กนักเรียน จำนวน 47 คน จำนวน 22 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กได้รับโภชนาการอาหารที่สมวัย
เด็กมีสมาธิในการเรียน
47
0
6. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกันยายน
วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอาหารมื้อเช้าให้เด็กนักเรียนจำนวน 47 คน จำนวน 22 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กได้รับโภชนาการอาหารที่สมวัย
เด็กมีสมาธิในการเรียน
47
0
7. งบประมาณที่เหลือจากการดำเนินโครงการในกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหาร
วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 1. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆ ให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครอง รวมจำนวน 75 คน วันที่ 27 กรกฏาคม 2565 งบประมาณ 16,479 บาท
กิจกรรมที่ 2. สนับสนุนอาหารมื้อเช้าที่เหมาะสมตามวัยระยะเวลา 52 วันๆละ 15 บาท จำนวนเด็ก 47 คน งบประมาณ 36,660 บาท
กิจกรรมที่ 3. ชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 ครั้ง (ทุก 30 วัน) นำข้อมูลประมวลผล งบประมาณ 2,800 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รวมงบประมาณที่ใช้สำหรับดำเนินโครงการทั้งสิ้น 55,939 บาท ดังนั้นมีเงินเหลือจ่ายจากโครงการฯเป็นจำนวนเงิน 16,275 บาท
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กที่ถูกต้องและสร้างความตระหนักด้านอาหารและโภชนาการให้แก่เด็ก ผู้จัดทำอาหารและผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : มีการเฝ้าระวังการด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กที่เหมาะสมตามวัย โดยการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลเด็ก ผุ้จัดทำอาหารและผู้ปกครอง
60.00
50.00
50.00
2
เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่เหมาะสมตามวัยครบ 5 หมู่
ตัวชี้วัด : 1 ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร ผู้ปกครอง จัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็ก
60.00
50.00
50.00
3
เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กมีน้ำหนักดี สูงดี สมส่วน
60.00
50.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
85
85
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ครูผู้ดูแลเด็กและเจ้าหน้าที่
10
10
ผู้จัดทำอาหารและพี่เลี้ยงเด็ก
2
2
เจ้าหน้าที่
13
13
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กที่ถูกต้องและสร้างความตระหนักด้านอาหารและโภชนาการให้แก่เด็ก ผู้จัดทำอาหารและผู้ปกครอง (2) เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่เหมาะสมตามวัยครบ 5 หมู่ (3) เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม (2) ติดตามประเมินผลโครงการ (3) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม (4) ชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 ครั้ง (ทุก 30 วัน) นำข้อมูลประมวลผล (5) กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกรกฎาคม (6) งบประมาณที่เหลือจากการดำเนินโครงการในกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหาร (7) จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครองของเด็กเป้าหมาย (8) กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนสิงหาคม (9) กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกันยายน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 65-L4159-3-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวดูนียานา หะยีสะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง ”
ศพด.สังกัด อบ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวดูนียานา หะยีสะมะแอ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ศพด.สังกัด อบ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 65-L4159-3-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศพด.สังกัด อบ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง " ดำเนินการในพื้นที่ ศพด.สังกัด อบ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4159-3-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,214.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็กวัยรุ่น ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่มีอยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการการเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่ีมีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ได้แก่ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม เช่น อาหารที่ได้รับแต่ละมื้อมีสารอาหารไม่ครบ 5 หมู่ เป็นต้น จากกการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2565 พบว่าร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอมในพื้นที่ตำบลท่าธงโดยเฉลี่ย สูงถึง 25.26% ซึ่งเด็กเหล่านั้นบางส่วนกำลังเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าธง สาเหตุดังกล่าวมาจากผู้ปกครองไม่จัดอาหารมื้อเช้าหรือจัดอาหารมื้อเช้าไม่เหมาะสมและไม่มีประโยชน์ต่อเด็ก เช่น ขนมคบเคี้ยว ทำให้อาหารมื้อเช้าซึ่งเป็นมื้ออาหารที่สำคัญมากแต่เด็กได้รับไม่ถูกต้องส่งผลต่อสุขภาพของเด็กกองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนตำบลท่าธงเล็งเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังทางโภชนาการของเด็กนักเรียนในสังกัด จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กที่ถูกต้องและสร้างความตระหนักด้านอาหารและโภชนาการให้แก่เด็ก ผู้จัดทำอาหารและผู้ปกครอง
- เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่เหมาะสมตามวัยครบ 5 หมู่
- เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
- ติดตามประเมินผลโครงการ
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
- ชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 ครั้ง (ทุก 30 วัน) นำข้อมูลประมวลผล
- กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกรกฎาคม
- งบประมาณที่เหลือจากการดำเนินโครงการในกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหาร
- จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครองของเด็กเป้าหมาย
- กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนสิงหาคม
- กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกันยายน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ครูผู้ดูแลเด็กและเจ้าหน้าที่ | 10 | |
ผู้จัดทำอาหารและพี่เลี้ยงเด็ก | 2 | |
เจ้าหน้าที่ | 13 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กได้อย่างถูกต้อง 2 เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมตามวัยสามารถแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กได้ 3 เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม |
||
วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกรกฎาคม |
||
วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดเมนูอาหารให้เด็กนักเรียน จำนวน 47 วัน จำนวน 8 วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
47 | 0 |
3. ชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 ครั้ง (ทุก 30 วัน) นำข้อมูลประมวลผล |
||
วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง/ประมวลผล จำนวน 2 ครั้ง (วันที่ 31 ส.ค 65 และวันที่ 30 ก.ย 65) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กมีน้ำหนักดี สูงดี สมส่วน
|
8 | 0 |
4. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครองของเด็กเป้าหมาย |
||
วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆ ให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครองของเด็กเป้าหมาย หัวข้อดังนี้
1.ภาวะทุพโภชนาการ อาการ สาเหตุ การรักษาและการป้องกันภาวะทุพโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กได้อย่างถูกต้อง เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมตามวัยสามารถแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กได้ เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
|
75 | 0 |
5. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนสิงหาคม |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอาหารมื้อเช้าให้เด็กนักเรียน จำนวน 47 คน จำนวน 22 วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
47 | 0 |
6. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกันยายน |
||
วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอาหารมื้อเช้าให้เด็กนักเรียนจำนวน 47 คน จำนวน 22 วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
47 | 0 |
7. งบประมาณที่เหลือจากการดำเนินโครงการในกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหาร |
||
วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 1. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆ ให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครอง รวมจำนวน 75 คน วันที่ 27 กรกฏาคม 2565 งบประมาณ 16,479 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรวมงบประมาณที่ใช้สำหรับดำเนินโครงการทั้งสิ้น 55,939 บาท ดังนั้นมีเงินเหลือจ่ายจากโครงการฯเป็นจำนวนเงิน 16,275 บาท
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กที่ถูกต้องและสร้างความตระหนักด้านอาหารและโภชนาการให้แก่เด็ก ผู้จัดทำอาหารและผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : มีการเฝ้าระวังการด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กที่เหมาะสมตามวัย โดยการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลเด็ก ผุ้จัดทำอาหารและผู้ปกครอง |
60.00 | 50.00 | 50.00 |
|
2 | เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่เหมาะสมตามวัยครบ 5 หมู่ ตัวชี้วัด : 1 ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร ผู้ปกครอง จัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็ก |
60.00 | 50.00 | 50.00 |
|
3 | เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กมีน้ำหนักดี สูงดี สมส่วน |
60.00 | 50.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 85 | 85 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ครูผู้ดูแลเด็กและเจ้าหน้าที่ | 10 | 10 | |
ผู้จัดทำอาหารและพี่เลี้ยงเด็ก | 2 | 2 | |
เจ้าหน้าที่ | 13 | 13 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารสำหรับเด็กที่ถูกต้องและสร้างความตระหนักด้านอาหารและโภชนาการให้แก่เด็ก ผู้จัดทำอาหารและผู้ปกครอง (2) เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่เหมาะสมตามวัยครบ 5 หมู่ (3) เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม (2) ติดตามประเมินผลโครงการ (3) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม (4) ชั่งน้ำหนัก/ส่วนสูง กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 ครั้ง (ทุก 30 วัน) นำข้อมูลประมวลผล (5) กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกรกฎาคม (6) งบประมาณที่เหลือจากการดำเนินโครงการในกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหาร (7) จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทำอาหารเมนูง่ายๆให้แก่ ผู้ดูแลเด็ก ผู้จัดทำอาหาร และผู้ปกครองของเด็กเป้าหมาย (8) กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนสิงหาคม (9) กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการอาหารประจำเดือนกันยายน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.ท่าธง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 65-L4159-3-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวดูนียานา หะยีสะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......