กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน


“ โครงการเสริมสร้างความเข้าใจโรคโควิด 19 ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางมาหลา เจ๊ะอูมา

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความเข้าใจโรคโควิด 19 ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 2565-L3001-1-3 เลขที่ข้อตกลง ................./2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างความเข้าใจโรคโควิด 19 ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความเข้าใจโรคโควิด 19 ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างความเข้าใจโรคโควิด 19 ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 2565-L3001-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)           จากการระบาดของโรคโควิด 19 ที่ผ่านมา การติดเชื้อโควิด-19 นับว่าเป็นโรคที่ส่งผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพราะว่าหลังจากรักษาหายแล้ว แต่หลายคนยังรู้สึกเหมือนยังไม่หายดี เพราะว่าระหว่างการติดเชื้อ ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเพื่อไปจับกับเซลล์โปรตีนของบางอวัยวะ ทำให้เกิดการอักเสบในร่างกาย เป็นผลให้อวัยวะนั้นๆ ได้รับความเสียหาย ส่งผลกระทบไปทั่วร่างกาย เช่น อาการปอดบวม หรือ เนื้อปอดถูกทำลาย โดยระดับความรุนแรงจะขึ้นอยู่กับความรวดเร็วในรักษา และการกำจัดเชื้อโควิดในร่างกาย เราเรียกภาวะนี้ว่า “โควิดระยะยาว (Long COVID)” สามารถพบได้ถึง 30-50% สาเหตุหลักมาจาก เครียดสะสม หรือเป็นผลข้างเคียงของยาที่ใช้ เช่น ยาในกลุ่มสเตียรอยด์ โรคแฝง หรือบางรายอาจติดเชื้อโควิดซ้ำแต่คนละสายพันธุ์หลังการติดเชื้อโควิด ร่างกายจะสร้างภูมิต้านทานตามธรรมชาติและมักจะไม่ติดเชื้อโควิดซ้ำในช่วง 1-3 เดือนแรกหลังหายป่วย แต่ภูมิต้านทานจะค่อยๆ ลดลงและไม่คงอยู่ตลอด ทำให้มีโอกาสติดเชื้อซ้ำได้อีกในอนาคต จึงจำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 อย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เช่น ใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา หมั่นล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ 70% รับประทานอาหารร้อน ช้อนกลาง และไม่ไปในแหล่งชุมชนแออัด หรือสถานที่อากาศไม่ถ่ายเท ดังนั้น ผู้ที่หายจากโควิด-19 ต้องสังเกตตัวเองอย่างละเอียด ประเมินร่างกายตนเองอยู่เสมอ และฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายอย่างถูกต้อง หากมีอาการดังกล่าวข้างต้นที่รบกวนการใช้ชีวิต แนะนำให้พบและปรึกษาแพทย์เพื่อหาสาเหตุอย่างละเอียด และอาจจะต้องมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อทำการรักษาให้ตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้น อย่าปล่อยทิ้งไว้จนรุนแรงและเรื้อรัง ซึ่งนำไปสู่การสูญเสียโอกาสในการรักษาและส่งผลเสียต่อสุขภาพที่มากขึ้นนั่นเอง ในรอบปี 2564 สถานการณ์การติดเชื้อของตำบลเกาะจัน พบผู้ติดเชื้อยืนยัน จำนวน 222 คน เข้ารับการรักษาตามระบบและจากการติดตามในพื้นที่ยังพบกลุ่มติดเชื้อที่มีอาการ Long COVID จากการสุ่มสอบถามจากกลุ่มติดเชื้อ จำนวน 80 คน หลังจากรักษาครบกำหนด พบว่ายังมีอาการอ่อนเพลีย หายใจเหนื่อย เบื่ออาหาร และยังมีอาการนอนไม่หลับ จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 46.25 ซึ่งส่วนใหญ่พบในกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มโรคเรื้อรัง ส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก การให้องค์ความรู้ในการปฏิบัติตัว ประเมินร่างกายตนเองอยู่เสมอ และฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายอย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันการเกิดโรคและการดูแลตนเองขณะป่วยและหลังป่วย ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้นกลุ่มงานระบาดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะจันเล็งเห็นความสำคัญของการสร้างความเข้าใจดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความเข้าใจโรคโควิด19 ปี 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการองค์ความรู้เพื่อเฝ้าระวังตนเองได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการองค์ความรู้และประเมินอาการตนเองได้ถูกต้อง
  3. เพื่อส่งเสริมให้การเฝ้าระวังการระบาดและควบคุมโรคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลผลิต 1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้และปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
    2. กลุ่มเป้าหมาย สามารถประเมินอาการตนเองได้ถูกต้อง 3. กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และและสามารถแนะนำคนในบ้านได้ถูกต้อง
    ผลลัพธ์ 1. คนในชุมชน มีความรู้ในการเฝ้าระวังตนเองได้ถูกต้อง ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคโควิด19 ได้ 4. คนในชุมชน มีความรู้และประเมินอาการตนเองได้ถูกต้อง ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคโควิด19 ได้ 5. อัตราการเกิดโรคโควิด 19 ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ 26,650 บาท งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง 26,650 บาท คิเป็นร้อยละ 100 งบประมาณที่เหลือคืนกองทุน 0 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการองค์ความรู้เพื่อเฝ้าระวังตนเองได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการองค์ความรู้เพื่อเฝ้าระวังตนเองได้ถูกต้องร้อยละ 80
    0.00

     

    2 เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการองค์ความรู้และประเมินอาการตนเองได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการองค์ความรู้และประเมินอาการตนเองได้ถูกต้อง ดีขึ้นร้อยละ 80
    0.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้การเฝ้าระวังการระบาดและควบคุมโรคในชุมชน
    ตัวชี้วัด : คนในชุมชนช่วยกันเฝ้าระวังการระบาดและควบคุมของโรคโควิด 19 ร้อยละ 70
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการองค์ความรู้เพื่อเฝ้าระวังตนเองได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการองค์ความรู้และประเมินอาการตนเองได้ถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมให้การเฝ้าระวังการระบาดและควบคุมโรคในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างความเข้าใจโรคโควิด 19 ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 2565-L3001-1-3

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมาหลา เจ๊ะอูมา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด