กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชิตชนก หนูรอด

ชื่อโครงการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3333-02-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3333-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการ ปรับชีวิตยุควิถีใหม่ ใส่ใจเฝ้าระวังโควิดของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ปีการศึกษา 2565 หลักการและเหตุผล       นายสาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้มีการแถลงข่าวการเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียนที่ 1/2565 ว่า ตั้งแต่ปีการศึกษา 2565 กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ ได้ปรับเปลี่ยนมาตรการการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการเรียนรู้ที่ดีในโรงเรียนของเด็กไทย สำหรับมาตรการเปิดเรียน On-Site ปลอดภัย อยู่ได้กับโควิด-19 ในสถานศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ด้วยหลักการพื้นฐานก็คือ 3T 1V ตัดความเสี่ยง เพิ่มภูมิคุ้มกัน และมาตรการ 6-6-7 เป็นสิ่งที่ยังคงเน้นย้ำ 3T 1V T : Thai Stop COVID Plus (TSC+) : โรงเรียนต้องประเมินตนเอง เตรียมความพร้อม ก่อนเปิดเรียน
T : Thai Save Thai (TST) : นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาประเมินความเสี่ยงตนเองเป็นประจำ
T : Test : เฝ้าระวังอย่างเหมาะสม ตรวจคัดกรอง เช่น ATK เมื่อมีความเสี่ยง หรือ เมื่อมีอาการ V : Vaccine : ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และเด็ก 5-17 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) เว้นระยะห่าง สวมหน้ากาก ล้างมือ ตรวจคัดกรอง ลดแออัด ทำความสะอาด
6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) ดูแลตนเอง ใช้ช้อนส่วนตัว กินอาหารปรุงสุกใหม่ ลงทะเบียนเข้า-ออก สำรวจตรวจสอบ กักกันตนเอง 7 มาตรการเข้ม -ประเมิน Thai Stop COVID Plus (TSC+) และรายงานผล ผ่าน MOE COVI -ทำกิจกรรมกลุ่มย่อย (Small Bubble) -จัดระบบการให้บริการอาหารตามหลักสุขาภิบาลและหลักโภชนาการ -อนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์มาตรฐาน -แผนเผชิญเหตุ และมีการซักซ้อม (School Isolation) -ควบคุมดูแลการเดินทางจากบ้านไปโรงเรียน (Seal Route) -School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา สำหรับแนวปฏิบัติของสถานศึกษาระหว่างเปิดภาคเรียน จะต้องมีการคัดกรองสุขภาพ ซึ่งโรงเรียนต้องเตรียมความพร้อมตั้งแต่จุดรับ-ส่งนักเรียน เพื่อจะได้ดูว่านักเรียนมีอาการป่วยหรือไม่ อีกทั้งต้องให้ครูและนักเรียนทุกคนต้องสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา จัดสถานที่ล้างมือหรือแอลกอฮอล์เจล ลดการแออัด เว้นระยะห่างในห้องเรียน และทำความสะอาดสถานที่
ขณะนี้ประเทศไทยกำลังขับเคลื่อนไปสู่ความปกติใหม่จากสถานการณ์การระบาดโควิด-19 ที่มีแนวโน้มลดลง การผ่อนคลายมีมากขึ้น การเปิดเทอมให้เด็กได้กลับไปเรียน มีสังคมในโรงเรียนตามช่วงวัย การเปิดกิจการและกิจกรรมต่างๆ ได้ รวมถึงกำลังพิจารณาหามาตรการเปิดสถานบันเทิง แต่ไม่ว่าจะผ่อนคลายในส่วนใด ก็ยังต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกคนและทุกภาคส่วนปฏิบัติตามมาตรการทางสาธารณสุขและมาตรการที่กำหนดขึ้น เพื่อให้การฟื้นฟูเศรษฐกิจ ฟื้นฟูประเทศ ก้าวไปข้าวหน้าได้อย่างปลอดภัยแม้จะยังต้องอยู่กับโควิด-19 ที่ไม่รู้ว่าอนาคตจะเกิดการกลายพันธุ์และการระบาดใหญ่อีกหรือไม่ และจะยังอยู่กับเราไปอีกนานแค่ไหน     ดังนั้น จากเหตุผลความสำคัญ ดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านท่าเนียนจึงจัดทำโครงการปรับชีวิตยุควิถีใหม่ ใส่ใจเฝ้าระวังโควิดของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน ปีการศึกษา 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน มีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19)และวิธีการรักษาเมื่อได้รับเชื้อโควิด19 และปฏิบัติตนได้ถูกต้องทั้งใน โรงเรียนและในการดำเนินชีวิตจริง
  2. เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ให้กับคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน และผู้มาติดต่อราชการในสถานศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องวิธีป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด19 และวิธีการรักษาเมื่อได้รับเชื้อโควิด19
  2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19
  3. จัดให้มีจุดบริการที่ล้างมือ พร้อมเจลแอลกอร์ฮอร์ตามจุดต่างๆ ในบริเวณโรงเรียน เพื่อบริการนักเรียน บุคลากร ผู้ปกครองหรือประชาชนที่มาโรงเรียน
  4. ติดตั้งอ่างล้างมือตามจุดต่างๆบริเวณโรงเรียน พร้อมวางสบู่เหลวล้างมือเพื่อให้สะดวกแก่ นักเรียน/ครู/บุคลากร
  5. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวัง เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนได้รับความรู้จากการอบรมจากวิทยากร เรื่อง วิธีป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19และวิธีการรักษาเมื่อได้รับเชื้อโควิด19 2) นักเรียนมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพป้องกันโรคโควิด 19 ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3) นักเรียนนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ปกครองและบุคคลในครอบครัวได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. นักเรียนได้รับความรู้จากการอบรมจากวิทยากร เรื่่อง โรคติดเชื้อไวรัสโควด 19 และวิธีการรักษาเมื่อได้รับเชื้อโควิด 19
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพป้องกันโรคโควิด 19 ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  3. นักเรียนนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ปกครองและบุคคลในครอบครัวได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน มีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19)และวิธีการรักษาเมื่อได้รับเชื้อโควิด19 และปฏิบัติตนได้ถูกต้องทั้งใน โรงเรียนและในการดำเนินชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้รับความรู้จากการอบรมของวิทยากร เรื่องวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโควิด 19และวิธีการรักษาเมื่อได้รับเชื้อโควิด19

 

2 เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ให้กับคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน และผู้มาติดต่อราชการในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 33
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน มีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19)และวิธีการรักษาเมื่อได้รับเชื้อโควิด19 และปฏิบัติตนได้ถูกต้องทั้งใน โรงเรียนและในการดำเนินชีวิตจริง (2) เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ให้กับคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียนบ้านท่าเนียน และผู้มาติดต่อราชการในสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องวิธีป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด19 และวิธีการรักษาเมื่อได้รับเชื้อโควิด19 (2) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 (3) จัดให้มีจุดบริการที่ล้างมือ พร้อมเจลแอลกอร์ฮอร์ตามจุดต่างๆ ในบริเวณโรงเรียน เพื่อบริการนักเรียน บุคลากร ผู้ปกครองหรือประชาชนที่มาโรงเรียน (4) ติดตั้งอ่างล้างมือตามจุดต่างๆบริเวณโรงเรียน พร้อมวางสบู่เหลวล้างมือเพื่อให้สะดวกแก่ นักเรียน/ครู/บุคลากร (5) ติดตามสถานการณ์  เฝ้าระวัง  เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าเนียน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3333-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชิตชนก หนูรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด