กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนอรยาตี ปะดุกา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8406-03-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L8406-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทุกคนสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี อาศัยอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างเท่าเทียมและอยู่ร่วมกันกับครูผู้ดูแลเด็ก และเพื่อนอย่างสงบสุขมีความสะดวก สบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการจัดการควบคุมส่งเสริมสนับสนุนปัจจัยเอื้อและขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และครูผู้ดูแลเด็กได้รับการส่งเสริมให้ทำงานได้อย่างมีความสุขกายสบายใจ ผู้ปกครอง และชุมชน มีบทบาทสำคัญยิ่งในการพัฒนาเด็กเล็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพทั้งด้านการดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อมอันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีเมือเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรม เพื่มพูนความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่องระหว่างบ้าน กับโรงเรียนและเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลในท้องถิ่นทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ชุมชน ดังนั้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงได้บูรณาการงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้ได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพและพฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี เพื่อเด็กจะได้เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าสำหรับประเทศต่อไป เด็กปฐมวัย เป็นวัยที อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ชอบเลียนแบบ ช่างจดจำ และเป็นวัยที่เริ่ม ช่วยเหลือตนเองได้ ความต้านทานโรคต่ำ สามารถติดเชื้อต่างๆ ได้ง่าย อีกทั้งเป็นวัยที่ซุกซน การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กเติบโตสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ ทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ-อารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา และในช่วง 6 ปีแรกของชีวิตจะมีผลต่อการวางรากฐานที่สำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ดังนั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา วิธีการและรูปแบบที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญยิ่ง ในการจัดการศึกษาปฐมวัยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง พ่อ แม่ และผู้ใกล้ชิดเด็กเป็นผู้ช่วยเหลือให้เด็กมีพัฒนาการและเตรียมความพร้อมอย่างเหมาะสม ซึ่งการดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ให้บรรลุเป้าหมายต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ในการดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตที่ถูกต้อง และจากการที่ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบูเก็ตยามูได้ประเมินผลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุ 0 - 72 เดือน และได้ผลการประเมินออกมาเป็นเด็กที่ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินด้านน้ำหนักต่ออายุ จำนวน 8 คน ด้านส่วนสูงต่ออายุจำนวน 5 คน และด้านน้ำหนักต่อส่วนสูงจำนวน 5 คน ซึ่งพบว่าเด็กที่ไม่ผ่านการประเมินด้านภาวะโภชนาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กยังมีอยู่หลายคน และทางศูนย์ต้องการที่จะแก้ไขปัญหาตรงนั้น
ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบูเก็ตยามู จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยทุกคนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงด้วยการรับประทานอาหาร ส่งเสริมสุขภาพออกกำลังกายและมีอารมณ์แจ่มใสตามวัย ทั้งนี้จะต้องมีความร่วมมือกันหลายฝ่าย เช่น ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขรวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพจิตดี
  2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้และแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต และรู้จักเลือกอาหารที่มีประโยชน์
  3. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ อารมณ์ และการคลายเครียดในเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย
  2. ประชุมผู้ปกครองเชิงปฏิบัติการ "ส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ."(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพจิตที่ดี
  2. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้และแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต และรู้จักเลือกอาหารที่มีประโยชน์สำหรับเด็กปฐมวัย
  3. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ อารมณ์ และการคลายเครียดในเด็กปฐมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมผู้ปกครองเชิงปฏิบัติการ "ส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ."(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)

วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมวางแผนการดำเนินงาน 2 จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 3 มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบกิจกรรมต่าง ๆ 4 ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 5 ประสานงานคณะกรรมการ 6 จัดทำเกณฑ์การประกวด 7 ดำเนินการตามโครงการ กิจกรรมที่ 2 ประชุมผู้ปกครองเชิงปฏิบัติการ "ส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ."(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) ชื่อกิจกรรม   -  ประชุมให้ความรู้ผู้ปกครอง  เด็กนักเรียน ครู  ผู้ดูแลเด็ก เชิงปฏิบัติการ "ส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ."(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)   - กิจกรรมการให้ความรู้เรื่องอาหาร  การรับประทานอาหารครบ  5  หมู่ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารทีมี  รสหวานมัน เค็มมากเกินไป  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารไปสู่วิถี่สุขภาพที่ดีสมวัย   - กิจกรรมการให้ความรู้เรื่องออกกำลังกาย  การเลื่อนไหวร่างกายและออกกำลังอย่างไรสำหรับเด็กปฐมวัยการขยับตัว การเดิน  การวิ่งเล่นของเด็กเป็นการออกกำลังกาย การให้ความรู้เรื่องอารมณ์   - กิจกรรมการให้ความรู้เรื่อง  พัฒนาการด้านอารมณ์และการควบคุมอารมณ์ เด็กปฐมวัยเพื่อการเติบโตอย่างมีคุณภาพการพัฒนาเด็กอย่างมีคุณภาพจึงต้องเริ่มต้นจากครอบครัว - กิจกรรมออกกำลังกายประกอบเพลงด้วยอูลาฮุป - กิจกรรมประกวดเมนูอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์ คือ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ อารมณ์ และการคลายเครียดในเด็กปฐมวัย

 

0 0

2. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย

วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมวางแผนการดำเนินงาน 2 จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 3 มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบกิจกรรมต่าง ๆ 4 ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 5 ประสานงานคณะกรรมการ 6 จัดทำเกณฑ์การประกวด 7 ดำเนินการตามโครงการ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย ชื่อกิจกรรม     1. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย   2. กิจกรรมประกวดระบายสีภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพจิตที่ดี

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพจิตดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพจิตที่ดี
32.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้และแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต และรู้จักเลือกอาหารที่มีประโยชน์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้และแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ รู้จักเลือกอาหารที่มีประโยชน์
32.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ อารมณ์ และการคลายเครียดในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ อารมณ์ และการคลายเครียดในเด็กปฐมวัย
32.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพจิตดี (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้และแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต และรู้จักเลือกอาหารที่มีประโยชน์ (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ อารมณ์ และการคลายเครียดในเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย (2) ประชุมผู้ปกครองเชิงปฏิบัติการ "ส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ."(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8406-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนอรยาตี ปะดุกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด