กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ(ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านคลองนุ้ย)
รหัสโครงการ 2565-L3328-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านคลองนุ้ย
วันที่อนุมัติ 10 พฤษภาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 20,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสายจิตร อินทมา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 มิ.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 20,400.00
รวมงบประมาณ 20,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบัน การเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นในหลายๆครั้งที่มีความรุนแรงกับผู้ป่วยนั้น มีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการที่ผู้เจ็บป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บไม่สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาล โดยแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ทันที ทำให้บางครั้งผลของการตรวจรักษาผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือได้ทันเวลาทำให้เกิดการสูญเสียแก่ผู้ป่วยถึงเสียชีวิตหรือทุพลภาพ หรือการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่ความรู้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักในการเพิ่มความรุนแรงของโรคโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุต่างๆ ซึ่งบางครั้งการกระทำเหล่านี้ส่งผลในด้านลบแก่ผู้ป่วยมากกว่า อาจถึงขั้นสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ เช่น การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บบริเวณคอ หากมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่การเข้าเฝือกด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งอาจจะทำให้หมอนรองกระดูกเกิดความเสียหาย ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ การไม่มีสัญญาณชีพ (การหยุดหายใจ การหยุดเต้นของชีพจร ม่านตาไม่ตอบสนองต่อแสง) หมายถึง การเสียชีวิตของบุคคลนั้น ในด้านการแพทย์หากยังไม่เกิน ๒0 นาที ถือว่าสมองยังไม่ถูกทำลาย หากสามารถทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้ โดยการกระตุ้นให้หัวในทำงาน การผายปอด ซึ่งหากผู้ให้การช่วยเหลือมีความรู้ ก็จะถือว่ายังพอมีโอกาสในการช่วยเหลือ โดยวิธีการดังกล่าวนั้นเรียกรวมกันว่า การช่วยฟื้นคืนชีพ จากเหตุผลขั้นต้นนั้น แสดงให้เห็นว่าการปฐมพยาบาลผู้ป่วยก่อนพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขนั้นสามารถลด ความเจ็บปวด ความรุนแรงที่จะเกิดกับผู้ป่วยได้ กลับกันหากผู้ให้การปฐมพยาบาลไม่มีความรู้ การให้การปฐมพยาบาลอาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงกับผู้ป่วยได้ ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านฯ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาล เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องเพื่อลดความเจ็บปวดและความรุนแรงของโรคแหลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบัน การเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นในหลายๆครั้งที่มีความรุนแรงกับผู้ป่วยนั้น มีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการที่ผู้เจ็บป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บไม่สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาล โดยแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ทันที ทำให้บางครั้งผลของการตรวจรักษาผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือได้ทันเวลาทำให้เกิดการสูญเสียแก่ผู้ป่วยถึงเสียชีวิตหรือทุพลภาพ หรือการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่ความรู้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักในการเพิ่มความรุนแรงของโรคโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุต่างๆ ซึ่งบางครั้งการกระทำเหล่านี้ส่งผลในด้านลบแก่ผู้ป่วยมากกว่า อาจถึงขั้นสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ เช่น การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บบริเวณคอ หากมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่การเข้าเฝือกด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งอาจจะทำให้หมอนรองกระดูกเกิดความเสียหาย ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ การไม่มีสัญญาณชีพ (การหยุดหายใจ การหยุดเต้นของชีพจร ม่านตาไม่ตอบสนองต่อแสง) หมายถึง การเสียชีวิตของบุคคลนั้น ในด้านการแพทย์หากยังไม่เกิน ๒0 นาที ถือว่าสมองยังไม่ถูกทำลาย หากสามารถทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้ โดยการกระตุ้นให้หัวในทำงาน การผายปอด ซึ่งหากผู้ให้การช่วยเหลือมีความรู้ ก็จะถือว่ายังพอมีโอกาสในการช่วยเหลือ โดยวิธีการดังกล่าวนั้นเรียกรวมกันว่า การช่วยฟื้นคืนชีพ จากเหตุผลขั้นต้นนั้น แสดงให้เห็นว่าการปฐมพยาบาลผู้ป่วยก่อนพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขนั้นสามารถลด ความเจ็บปวด ความรุนแรงที่จะเกิดกับผู้ป่วยได้ กลับกันหากผู้ให้การปฐมพยาบาลไม่มีความรู้ การให้การปฐมพยาบาลอาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงกับผู้ป่วยได้ ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านฯ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาล เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องเพื่อลดความเจ็บปวดและความรุนแรงของโรคแก่ผู้ป่วย และลดการเจ็บป่วยรุนแรงที่เกิดจากการปฐมพยาบาลและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย รวมถึงสามารถช่วยเหลือผู้ไร้สัญญาณชีพด้วยการช่วยฟื้นคืนชีพด้วยวิธีต่างๆได้ ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านฯ จึงได้จัดโครงการการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ ขึ้น เพื่อเป็นการให้ความรู้ในการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ แก่แกนนำครอบครัว เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้เมื่อประสพกับเหตุการณ์จริง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ร้อยละ 100 แก่แกนนำครอบครัว บ้านหัวช้าง มีประสบการณ์การเรียนรู้เรื่องการปฐมพยาบาลและช่วยฟื้นคืนชีพ
  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
  2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถปฏิบัติทักษะการช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ถูกได้ถูกต้อง
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,400.00 0 0.00
10 พ.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น แก่ อสม./แกนนำครอบครัว 0 20,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และมีทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องตัน เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล 2.สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉิน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2565 13:13 น.