กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา


“ โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๖๕ ตำบลวังพญา ”

ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังพญา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๖๕ ตำบลวังพญา

ที่อยู่ ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4165-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มิถุนายน 2565 ถึง 28 มิถุนายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๖๕ ตำบลวังพญา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๖๕ ตำบลวังพญา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๖๕ ตำบลวังพญา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4165-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มิถุนายน 2565 - 28 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเต้านมจัดได้ว่ามะเร็งร้ายอันดับ ๑ ของผู้หญิงทั่วโลก จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ระบุว่ามีผู้หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งเต้านม รายใหม่ประมาณ ๒๐,๐๐๐ คนต่อปีหรือ ๕๕ คนต่อวัน ทั้งยังมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นทุกปี ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด หากแต่มีปัจจัยเสี่ยงหลายประการที่สัมพันธ์กับการเกิดโรค เช่น ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า ๕๐ ปี ปัจจัยทางพันธุกรรมโดยเฉพาะหากครอบครัวมีญาติสายตรง เป็นมะเร็งเต้านมหรือมะเร็งรังไข่ มีคนในครอบครัวเป็นโรคมะเร็งเต้านมหลายคน หรือมีญาติเคยเป็นมะเร็งเต้านมเมื่ออายุน้อย หรือเป็นมะเร็งเต้านมพร้อมกันทั้ง ๒ ข้าง ปัจจัยด้านฮอร์โมนเพศคือเริ่มมีประจำเดือนเมื่ออายุน้อยกว่า ๑๒ ปี หรือประจำเดือนหมดช้าหลังอายุ ๕๕ ปี ผู้หญิงที่ไม่มีบุตรหรือมีบุตรคนแรกหลังอายุมากกว่า ๓๐ ปี นอกจากนี้ ผู้หญิงที่กินยาฮอร์โมนทดแทนหลังวัยทองเป็นระยะเวลานานเกิน ๕ ปี ปัจจัยทั้งหมดนี้ก็มีโอกาสเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งเต้านมได้เช่นกัน รวมทั้งการดื่มสุรา การฉายรังสีบริเวณทรวงอก และการกินยาคุมกำเนิด ซึ่งพบว่าเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับโรคอยู่บ้าง แต่ไม่ชัดเจนมากนัก อาการเริ่มต้นของมะเร็งเต้านม ส่วนใหญ่มักจะไม่ รู้สึกเจ็บ จนกระทั่งก้อนเนื้อเริ่มมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือลุกลามไปยังอวัยวะส่วนอื่น เมื่อนั้นผู้ป่วยจึงจะเริ่มรู้สึกถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้น และจากข้อมูลการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ๓ ปีย้อนหลังของตำบลวังพญาพบว่าตั้งแต่ปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๔ ได้รับการตรวจ ๑,๒๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๓๖,    คน คิดเป็นร้อยละ และ ๑,๑๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๕๖ พบผิดปกติที่ไม่ใช่ cellมะเร็ง ๐ คน , ๑ คนและ ๓ คน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยร้อยละ ๑๐๐ และโรคมะเร็งรองลงมาเป็นอันดับ ๒ ของผู้หญิง คือโรคมะเร็งปากมดลูกกำลังพุ่งสูงขึ้นอย่างน่าตกใจ ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆของผู้หญิงทั่วโลก มีการประมาณการไว้ว่าในทุกๆปีจะพบผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่มากกว่า ๕๐,๐๐๐ รายและครึ่งหนึ่งในจำนวนนั้นจะเสียชีวิตลงซึ่งนับได้ว่าทุกๆ ๑ ชั่วโมงจะมีผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกถึง ๓๐ คน ในส่วนของประเทศไทยแต่ละปีจะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ราย และเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกประมาณ ๕,๐๐๐ ราย ซึ่งอัตราการเสียชีวิตของผู้หญิงไทยนั้นเพิ่มขึ้นจาก ๗ คนเป็น ๑๔ คนต่อวัน ตัวเลขที่เพิ่มขึ้นมานี้ส่วนหนึ่งเกิดจากความประมาทเพราะคิดว่าตนเองไม่มีความเสี่ยง แล้วจะเป็นโรคนี้ได้อย่างไร แต่ในความเป็นจริงผู้หญิงทุกคนที่ผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาแล้วมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ทั้งสิ้น แม้จะเป็นเพศสมพันธ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวก็ตาม จากสถิติรายงาน ๓๐ % ของผู้หญิงไทยไม่เคยได้เข้ารับการตรวจแปปสเมียร์เพื่อคัดกรองหาเชื้อมะเร็งปากมดลูกเลย จากข้อมูลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ๓ ปีย้อนหลังของตำบลวังพญาพบว่าตั้งแต่ปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๔ ได้รับการตรวจ ๖๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๘๒ , ๑๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๐๔ และ๓๘๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๘๖ พบผิดปกติที่ไม่ใช่cellมะเร็ง ๐ คน , ๑ คนและ ๖ คน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยร้อยละ ๑๐๐

ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก รู้จักป้องกันและมารับบริการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก ค้นหากลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก และได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังพญา จึงได้จัดทำโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๖๕ ตำบลวังพญา ขึ้น โดยคัดกรองในกลุ่มประชาชนที่มีอายุ๓๐ – ๗๐ ปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๘๐
  2. ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๖๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๐
  3. ๓. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีมีความรู้ในการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ ๘๐

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๘๐
    ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    2 ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๖๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๐
    ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๖๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๐
    0.00

     

    3 ๓. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีมีความรู้ในการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ ๘๐
    ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีมีความรู้ในการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ  ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๘๐ (2) ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ  ๓๐ – ๖๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๐ (3) ๓. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ  ๓๐ – ๗๐ ปีมีความรู้ในการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ ๘๐

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๖๕ ตำบลวังพญา จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 65-L4165-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังพญา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด