กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ “น้ำผุดรุ่นใหม่ ร่วมใจลดน้ำตาล” ”
ตำบลน้ำผุด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.น้ำผุด




ชื่อโครงการ โครงการ “น้ำผุดรุ่นใหม่ ร่วมใจลดน้ำตาล”

ที่อยู่ ตำบลน้ำผุด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65L1498-1-002 เลขที่ข้อตกลง 23/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “น้ำผุดรุ่นใหม่ ร่วมใจลดน้ำตาล” จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำผุด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “น้ำผุดรุ่นใหม่ ร่วมใจลดน้ำตาล”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “น้ำผุดรุ่นใหม่ ร่วมใจลดน้ำตาล” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำผุด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65L1498-1-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,974.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมไทยยุคปัจจุบันกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและพบว่าผู้สูงอายุเหล่านั้นมักมีโรคประจำตัวร่วมด้วย ซึ่งโรคประจำตัวที่พบได้บ่อย คือ โรคเบาหวาน ดังจากข้อมูลสถิติสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2563ได้ทำการสำรวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 3,767,265 คน คิดเป็นร้อยละ 45.09 โรคเบาหวาน จำนวน 1,688,246 คน คิดเป็นร้อยละ 20.21 โดยในส่วนของจังหวัดตรัง พบว่าสาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอกในจังหวัดตรัง พ.ศ.2563 จากประชากรที่ป่วยจำนวน 288,125 คน4 อันดับแรก ได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคเนื้อเยื่อผิดปกติ โรคของหลัง และโรคเบาหวานตามลำดับ โดยโรคเบาหวานพบจำนวน 32,025 คน จึงเห็นได้ว่าโรคเบาหวาน เป็นโรคที่พบได้มากในผู้สูงอายุในทุกพื้นที่ ซึ่งหากผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานแล้ว ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติได้ อาจส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา เช่น โรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งอาจรุนแรงถึงขั้นอัมพาตหรือเสียชีวิตได้ ดังนั้นการป้องกันภาวะแทรกซ้อนสำหรับบุคคลทั่วไปที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ ผู้จัดทำจึงได้จัดโครงการนี้ เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพให้คนในชุมชนที่เป็นโรคเบาหวานและไม่สามารถคุมน้ำตาลในเลือดได้ให้สามารถลดน้ำตาลในเลือดได้ด้วยตนเอง โดยจากข้อมูลทางสถิติสาธารณสุข ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2563 พบว่าจากประชากรตำบลน้ำผุด อ.เมือง จ.ตรัง ทั้งหมด 3,838 คนมีโรคที่พบในผู้สูงอายุมากที่สุด คือ โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2198 คน รองลงมาคือโรคเบาหวาน จำนวน 665 คน และพบว่าร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีของตำบลน้ำผุด อ.เมือง จ.ตรัง ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา คือ ปี 2559, 2560, 2561, 2562 และ 2563 มีแนวโน้มลดลง คือ 18.89, 21.03, 21.67, 29.68 และ 29.1 ตามลำดับ ผู้จัดทำจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นในตำบลน้ำผุด อ.เมือง จ.ตรัง เพื่อจัดโปรแกรมสุขภาพให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลสะสมในเลือดสูงกว่าเกณฑ์ โดยเริ่มจากการพูดคุยหาสาเหตุที่ทำให้น้ำตาลสะสมสูง จากนั้นจึงร่วมกันหาวิธีปรับพฤติกรรมตามวิถีชีวิตของผู้ป่วย เพื่อให้สามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือดได้ ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง และมีสุขภาพที่แข็งแรงตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสมุดประจำตัวผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อการให้ความรู้ และติดตามการปรับพฤติกรรมด้านอาหารและการออกกำลังกายของผู้ป่วย
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับตัวโรค ทั้งสาเหตุที่ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง การดูแลสุขภาพที่เหมาะสม ทั้งการรับประทานอาหารที่ดี การออกกำลังกายที่เหมาะสม และการใช้ยาที่ถูกวิธี และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดได้จากน้ำตาลสะสมในเลือดสูงกว่าเกณฑ์ 2.ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะกับวิถีชีวิตของตนเองให้มีสุขภาพที่ดีขึ้นได้ 3.ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการสามารถควบคุมน้ำตาลสะสมให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 4.ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนกับคนในครอบครัวและชุมชน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนดียิ่งขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสมุดประจำตัวผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อการให้ความรู้ และติดตามการปรับพฤติกรรมด้านอาหารและการออกกำลังกายของผู้ป่วย (2) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ “น้ำผุดรุ่นใหม่ ร่วมใจลดน้ำตาล” จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65L1498-1-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต.น้ำผุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด