กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไวรัส ๒๐๑๙ ”
ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไวรัส ๒๐๑๙

ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคไวรัส ๒๐๑๙ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไวรัส ๒๐๑๙



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไวรัส ๒๐๑๙ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคน ไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก และส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่าง รุนแรง ซึ่งขณะนี้สถานการณ์การระบาดของโรคกำลังแพร่กระจายอย่างไม่หยุดยั้งและยังไม่สามารถควบคุมได้ซึ่งโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะแพร่กระจายผ่านฝอยละอองเป็นหลัก จะเกิดขึ้นเมื่อผู้ติดเชื้อไอ จาม หรือหายใจออก ฝอยละอองเหล่านี้มีน้ำหนักมากเกินกว่าจะลอยอยู่ในอากาศ และจะตกลงบนพื้นหรือพื้นผิวอย่างรวดเร็วซึ่งอาจติดเชื้อ ได้จากการหายใจเอาไวรัสเข้าสู่ร่างกายเมื่ออยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโดยการสัมผัส พื้นผิวที่มีเชื้อไวรัสแล้วสัมผัสตา จมูก หรือปากของตนเองจะทำให้เกิดอาการไข้สูง ไอ จาม มีการอักเสบของปอดและ เยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง จนอาจทำให้เสียชีวิตสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศ ในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อบุคลากรและสถานที่ ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากยิ่งขึ้น มีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดในประเทศ จังหวัดพัทลุงยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้จากข้อมูลการแพร่ระบาดในปัจจุบันผู้ติดเชื้อโคโรนา 2019 ของจังหวัดพัทลุง ณ วันที่ 3 เมษายน 2565 มีผู้ป่วยสะสม 19,191 ราย อำเภอศรีบรรพต จำนวน 2,503 ราย NPCU รพ.สต.บ้านสวนโหนดรับผิดชอบ พื้นที่ ต.ตะแพน มีผู้ติดเชื้อจำนวน 382 ราย และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูง หรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ซึ่งขณะนี้มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ NPCU โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสวนโหนด ได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันและควบคุมการแพ่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงจัดทำโครงการเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดเชิงรุกลดผู้ติดเชื้อรายใหม่กำหนดมาตรการความคุมป้องกันตามมาตรการNew Normal และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอมีประสิทธิภาพ กรณีที่มีการตรวจคัดกรองขั้นต้นด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ให้ผลเป็นบวก ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาและรักษาผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้ทันต่อสถานการณ์ ตามบทบาทหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในการป้องกันและควบคุมและระงับโรคติดต่อ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 NPCU รพ.สต.บ้านสวนโหนดจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ขึ้น ลดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เกิดประโยชน์แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑) เพื่อป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับพื้นที่ข้อที่ 2 เพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักแก่ประชาชนในเรื่องโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ข้อที่ 3) เพื่อสนับสนุนการดำเนินการดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพระดับพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย,เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ 2 ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ๓ จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙4 ติดตามกลุ่มเสี่ยงตรวจซ้ำ รอบสอง 5 ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 64
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพระดับพื้นที่ มีดำเนินการเชิงรุกในพื้นที่ในการควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) ลดการแพร่เชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 จากผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑) เพื่อป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับพื้นที่ข้อที่ 2 เพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักแก่ประชาชนในเรื่องโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ข้อที่ 3) เพื่อสนับสนุนการดำเนินการดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : ๑.ลดอัตราป่วยตาย จากโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๒.ประชาชนในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านสวนโหนดมีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ๓.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจโรค ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ครบทุกคนอย่างทันท่วงที
64.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 64
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 64
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่  ๑) เพื่อป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับพื้นที่ข้อที่ 2  เพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักแก่ประชาชนในเรื่องโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ข้อที่ 3) เพื่อสนับสนุนการดำเนินการดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพระดับพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย,เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ 2 ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ๓ จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙4 ติดตามกลุ่มเสี่ยงตรวจซ้ำ รอบสอง 5 ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคไวรัส ๒๐๑๙ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด