กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน


“ คนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวรจิต สายแก้ว

ชื่อโครงการ คนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3318-02-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"คนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " คนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3318-02-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลโตนดด้วน ตั้งอยู่เลขที่ 225 หมู่ที่ 2 ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ตำบลโตนดด้วน มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ35.32ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านทั้งหมด 11 หมู่บ้าน มีครัวเรือนทั้งหมด 2,475 ครัวเรือน มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 6,166คน ประชากรแฝง 140 คน รวม 6,306 คน มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 ศูนย์ โรงเรียน 4 แห่ง วัด 3 แห่ง ตลาดชุมชน3 แห่ง สถานการณ์ปัญหาขยะของพื้นที่ตำบลโตนดด้วน เทศบาลตำบลโตนดด้วน ไม่มีรถขยะในการจัดเก็บ จากการสำรวจข้อมูลครัวเรือน ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 4 - 5ตัน/วัน ซึ่งครัวเรือนมีการจัดการขยะกันเอง เนื่องจากประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับคัดแยกขยะไม่เพียงพอ ประชาชนมีการคัดแยกในระดับครัวเรือน จำนวน 900 ครัวเรือนยังไม่คัดแยก 1,575 ครัวเรือน ทำให้เกิดปัญหาขยะมีปริมาณมากขึ้นทุกปี และส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน จากสถิติการเจ็บป่วย เมื่อปี 2564 มีไข้เลือดออก จำนวน 2 คน ป่วยเป็นโรคอุจจาระร่วง 44 คน ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เฉลี่ย 125 บาทต่อคน และมีค่าใช้จ่ายในการควบคุมการระบาดของโรค ปีหนึ่งประมาณ 50,000 บาทต่อปี ในส่วนผลกระทบต่อสังคม ยังมีประชาชนนำขยะมาทิ้งที่ข้างทางถนนซึ่งเป็นสายหลักและสายรอง จำนวน 3 สาย จากปัญหาดังกล่าวส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก ขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี 1,575 ครัวเรือน เนื่องจากปริมาณคุณลักษณะขยะมูลฝอยเปลี่ยนแปลงไป ด้วยสาเหตุ ต่างๆ เช่น การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร พฤติกรรมการบริโภคที่ต้องการความสะดวกสบาย บรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วทิ้ง เป็นต้น การจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการ ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรวม เช่น กลิ่นรบกวน และน้ำเน่าเสียจากอินทรีย์สารในขยะเกิดการเน่าเปื่อยเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค เป็นต้น ความสะดวกซื้อสะดวกใช้ ชาวบ้านยังไม่นิยมนำถุงผ้าหรือตะกร้ามาจากบ้านในการจ่ายตลาด ครัวเรือนจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นเองด้วยวิธีการต่างกัน เช่น การฝังกลบ การเผา การกองทิ้งไว้กลางแจ้ง เป็นต้น แต่ละวิธีเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุและไม่ยั่งยืน มีโอกาสในการก่อมลพิษเกิดขึ้นได้ ดังนั้น แนวทางที่ดีที่สุดสำหรับการแก้ปัญหาขยะมูลฝอย คือ การจัดการขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดต่างๆ เช่น ครัวเรือน โรงเรียน สถานประกอบการ ตลาดสด เป็นต้น โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อลดปริมาณของขยะและสามารถนำขยะที่ยังมีประโยชน์อยู่กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่อีกครั้ง เทศบาลตำบลโตนดด้วน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการจัดการขยะ จึงได้จัดทำโครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งพาหะนำโรค โดยมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือปริมาณขยะลดลง โดยให้เกิดกลไกการจัดการขยะในระดับครัวเรือน/ระดับชุมชน และให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ มีกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมของชุมชนและลดแหล่งที่ทำให้เกิดโรคต่างๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ปริมาณขยะลดลงและสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะที่ถูกวิธี ลดแหล่งพาหะนำโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
  2. ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานเพื่อรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานในพื้นที่
  3. กิจกรรมเสริมสร้างความรู้การจัดการขยะ ศึกษาแหล่งเรียนรู้การจัดการแบบมีส่วนร่วม
  4. กิจกรรมให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 8 ครั้ง จำนวน 400
  5. กิจกรรม “แยก แลก ไข่” เดือนละ 1 ครั้ง
  6. กิจกรรมรณรงค์ BIG CLEANING DAY
  7. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ปริมาณขยะในพื้นที่ตำบลโตนดด้วนลดลงร้อยละ 50 2.มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40 3.ครัวเรือนจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 80 %
4.แหล่งขยะหมักหมมลดลง 11 แห่ง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 8 ครั้ง จำนวน 400

วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 8 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชน ครู นักเรียน ครู ศพด. ได้รับความรู้การคัดแยกขยะในครัวเรือน ในโรงเรียนและ ศพด.

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ปริมาณขยะลดลงและสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1.ปริมาณขยะในพื้นที่ตำบลโตนดด้วนลดลงร้อยละ 50 2.มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะที่ถูกวิธี ลดแหล่งพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 80 % 2.แหล่งขยะหมักหมมลดลง 11 แห่ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ปริมาณขยะลดลงและสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะที่ถูกวิธี ลดแหล่งพาหะนำโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (2) ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานเพื่อรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานในพื้นที่ (3) กิจกรรมเสริมสร้างความรู้การจัดการขยะ ศึกษาแหล่งเรียนรู้การจัดการแบบมีส่วนร่วม (4) กิจกรรมให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 8 ครั้ง จำนวน 400 (5) กิจกรรม  “แยก แลก ไข่” เดือนละ 1 ครั้ง (6) กิจกรรมรณรงค์ BIG CLEANING DAY (7) จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3318-02-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวรจิต สายแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด