กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข้มแข็ง ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายชาร์ฟัรฮัม ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข้มแข็ง

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2479-2-08 เลขที่ข้อตกลง 08/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข้มแข็ง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข้มแข็ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข้มแข็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2479-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถาบันครอบครัวเป็นรากฐานที่สำคัญแห่งการเปลี่ยนแปลงนิสัยคน โดยทำหน้าที่ขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่คนในครอบครัว ด้วยการอบรมเลี้ยงดูบุตร เพื่อให้สมาชิกครอบครัวมีการพัฒนาการตามวัยและเติบโตเป็นตัวอย่างที่ดีของชุมชน ปัจจุบันหลายครอบครัวที่มีพ่อแม่ไม่ค่อยได้อยู่ด้วยกันเพราะต่างคนก็ต้องไปทำงาน บางครอบครัวก็ต้องไปทำงานต่างจังหวัด บางครอบครัวไปทำงานต่างประเทศ ซึ่งเหตุผลนี้ที่ทำให้พ่อแม่และลูกมีความสัมพันธ์กันน้อยลง ทำให้ลูกไม่กล้าที่จะปรึกษาพ่อแม่ ทางสภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิตจึงคิดโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อจะกระชับความสัมพันธ์ของพ่อแม่ ลูก และกล้าที่จะแสดงความรู้สึกซึ่งกันและกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
  2. เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
  3. เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี
  4. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ
  3. กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม
  4. กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว
  5. กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว
  6. จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กวัยเรียนที่มีอาการภาวะเครียดลดน้อยลง 2 มีครอบครัวที่มีความสุขและเข้มแข็งมากขึ้น 3 ครอบครัวไม่มีปัญหาความขัดแย้ง มีความเข้าใจซึ่งกันและกันมากขึ้น 4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงบทบาทหน้าที่ในการดำเนินชีวิต


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน

วันที่ 10 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แจ้งความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองในการจัดโครงการ

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ

วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของหัวหน้าครอบครัว สมาชิกในครอบครัว และเรื่องแนวทางการสร้างความรักความเข้าใจในครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้รู้ถึงบทบาทของตัวเองในการดำเนินชีวิต เพื่อสร้างความรัก ความเข้าใจในครอบครัว

 

0 0

3. กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม

วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์คนในครอบครัว เพื่อกระชับมิตรสมาชิกในครอบครัว และกิจกรรมละลายพฤติกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกในครอบครัวมีความสนิทสนมมากขึ้น

 

0 0

4. กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว

วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมลดปัญหาความขัดแย้งภายในครอบครัว และเพิ่มความเข้าใจในครอบครัว เป็นกิจกรรมที่พ่อ แม่ หรือผู้ปกครอง ต้องสร้างความเข้าใจแก่สมาชิกในครอบครัว อธิบายถึงความต้องการของผู้ปกครองให้สมาชิกในครอบครัวเข้าใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกในครอบครัวเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ หรือความต้องการของผู้ปกครอง

 

0 0

5. กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว

วันที่ 4 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมที่สมาชิกในครอบครัวบอกรักพ่อแม่ ผู้ปกครองผ่านสื่อต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองได้รับความรักของสมาชิกในครอบครัว สมาชิกในครอบครัว ได้รับความรักจากผู้ปกครอง

 

0 0

6. จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 19:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมคณะทำงานโครงการฯ เพื่อสรุปถอดบทเรียน จากการจัดโครงการค่ายครอบครัวอบอุ่นสู่ชุมชนเข็มแข็ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รู้ถึงปัญหาในการจัดโครงการฯ เพื่อปรับแก้ในโครงการต่อๆไป

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
20.00 10.00

 

2 เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ตัวชี้วัด : สมาชิกครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจจะเกิดขึ้น
20.00 40.00

 

3 เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ทุกคนในครอบครัวได้รับการปลุกฝังจิตสำนึกที่ดี ตระหนักและเห็นความสำคัญของบทบาท หน้าที่ของตนเอง ต่อบุคคลในครอบครัว
20.00 30.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันในการป้องกันปัญหาต่างๆ เช่นยาเสพติด พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน
20.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ลง (2) เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว (3) เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี (4) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ (3) กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม (4) กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว (5) กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว (6) จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข้มแข็ง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2479-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาร์ฟัรฮัม ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด