กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 ”
ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางอุไรวรรณ จิตรพรหม




ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3330-02-05 เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มิถุนายน 2565 ถึง 5 กรกฎาคม 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3330-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มิถุนายน 2565 - 5 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)กระทรวงสาธารณสุขยังคงเน้นย้ำในแถลงการณ์ให้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการในการป้องกันตนเองเพื่อชะลอการระบาดของ โควิด-19 โดยใช้มาตรการ DMHTT คือ อยู่ห่างไว้ (Distancing: D) ใส่มาสก์กัน (Mask Wearing: M) หมั่นล้างมือ (Hand Washing: H) ตรวจให้ไว (Testing: T) และใช้ไทยชนะ (Thai Cha na: T) โดยมาตรการหนึ่งที่สำคัญเน้นย้ำ คือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า เพื่อเพื่อป้องกันการสัมผัสและลดการฟุ้งกระจายของละอองฝอยจากการพูด ไอ จาม ทั้งนี้ หน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วจัดได้ว่าเป็นขยะติดเชื้อ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วปนเปื้อนด้วยเสมหะ น้ำลาย น้ำมูกของบุคคลผู้ใช้ และอาจยังปนเปื้อนเชื้อโรคจากบุคคลที่ป่วย หรือผู้เป็นพาหะนำโรคได้ ถ้าหากหน้ากากอนามัยเหล่านี้ไม่ได้รับการคัดแยกอย่างถูกวิธี ถูกทิ้งปะปนกับขยะชุมชน จะส่งผลให้พนักงานที่ทำหน้าที่เก็บขนขยะมีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อโควิด 19 และเมื่อขยะถูกนำไปกำจัดด้วยวิธีที่ไม่ถูกต้อง เช่น เทกองกลางแจ้ง ก็อาจเพิ่มโอกาสที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปยังคนในชุมชนทั้งทางน้ำและทางอากาศ นอกจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของพนักงานเก็บขยะและคนในชุมชนแล้ว ปริมาณขยะหน้ากากอนามัยแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งที่จัดการไม่ถูกต้องยังส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมได้ เนื่องจากหน้ากากอนามัยมีองค์ประกอบที่ผลิตจากวัสดุที่ ย่อยสลายยาก เช่น โพลีโพรไพลีน (Polypropylene : PP) ซึ่งเป็นพลาสติก ชนิดหนึ่งที่นำมาขึ้นรูปให้เป็นเส้นใยสังเคราะห์แล้วทอให้เป็นแผ่น รวม ไปถึงลวดสำหรับปรับให้เข้ากับโครงจมูกก็ทำมาจากแผ่นพลาสติกขนาดเล็ก หรือลวดโลหะอะลูมิเนียมซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน้ากากอนามัย ข้อมูลการรวบรวมปริมาณขยะหน้ากากอนามัยใช้แล้ว ที่กรมควบคุมมลพิษ สำรวจผ่านทางสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน - 31 ธันวาคม 2563 จากทั้งหมด 2,690 แห่ง มีปริมาณขยะ 17.89 ตัน ซึ่งมีการนำหน้ากากอนามัยไปทิ้งในบ่อฝังกลบทั่วไป ร้อยละ 25 เผาในเตาขยะติดเชื้อร้อยละ 9 จ้างเอกชนรับกำจัดร้อยละ 8 และรวบรวมให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำจัดถูกวิธีเพียงร้อยละ 51 ดังนั้น มาตรการที่สำคัญในการจัดการขยะติดเชื้อ ควรเน้นการจัดการขยะที่ต้นทาง คือ การสร้างความตระหนักและให้ความรู้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับวิธีการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธี โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงกรุงเทพมหานครได้ออกมา ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนว่าสามารถทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธีได้อย่างไรรวมทั้งประชาสัมพันธ์และขอความร่วมมืออย่างจริงจังให้ประชาชนคัดแยกและทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธี โดยแนะนำให้ประชาชนนำหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้ว พับ บรรจุใส่ถุงที่ปิดสนิท มัดปากถุงให้แน่น พร้อมและเขียนหรือติดหน้าถุงว่า “หน้ากากอนามัย” เพื่อจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธีต่อไป
ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากขยะติดเชื้อประเภทหน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้า ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ในการทิ้งหน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าอย่างถูกวิธี ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนจึงจัดทำโครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 เพื่อลดโอกาสที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปยังคนในชุมชน ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งลดผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงการบริหารจัดการขยะ โดยยึดหลัก 3 Rs
  2. เพื่อให้ ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ
  2. จัดประชุมให้ความรู้ เรื่องการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย แก่ ผู้นำชุมชน อสม และประชาชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่น จำนวน 3 รุ่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้นำชุมชน อสม และประชาชนทั่วไป 180

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะ โดยยึดหลัก 3 Rs ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ

วันที่ 27 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ ณ.ห้องประชุม รพ.สต.บ้านต้นสน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (out put)  ผู้นำชุมชน  / อสม. จำนวน ๓๐ คน ผลลัพท์ (outcome)  ผู้นำชุมชน  / อสม เข้าร่วมประชุมชี้แจงโครงการ ร้อยละ ๑๐๐

 

0 0

2. จัดประชุมให้ความรู้ เรื่องการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย แก่ ผู้นำชุมชน อสม และประชาชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่น จำนวน 3 รุ่น

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมให้ความรู้ เรื่องการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย แก่ ผู้นำชุมชน  อสม และประชาชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่น จำนวน 3 รุ่น
รุ่นที่ 1 วันที่ 1 กรกฎาคม 2565  อสม.  ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 4 บ้านต้นสน รุ่นที่ 2 วันที่ 4 กรกฎาคม 2565  อสม.  ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 8 บ้านทุ่งโต๊ะหย๊ะ รุ่นที่ 3 วันที่ 5 กรกฎาคม 2565  อสม.  ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งนายพัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (out put)  ผู้นำชุมชน  อสม. และประชาชน ได้รับการอบรมเรื่องการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย จำนวน ๑๘๐ คน
ผลลัพท์ (outcome)
            1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะ โดยยึดหลัก 3 Rs             2. ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงการบริหารจัดการขยะ โดยยึดหลัก 3 Rs
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ
0.00

 

2 เพื่อให้ ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 360
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้นำชุมชน อสม และประชาชนทั่วไป 180

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงการบริหารจัดการขยะ โดยยึดหลัก 3 Rs (2) เพื่อให้ ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ (2) จัดประชุมให้ความรู้ เรื่องการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย แก่ ผู้นำชุมชน  อสม และประชาชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่น จำนวน 3 รุ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3330-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุไรวรรณ จิตรพรหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด