กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565 ”

ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม

ชื่อโครงการ โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565

ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3330-1-08 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 สิงหาคม 2565 ถึง 10 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3330-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 สิงหาคม 2565 - 10 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวนิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวทางร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรค ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วมและเสียชีวิตก่อนวันอันควรโรคความดันโลหิตสูงเป็นภาวะโรคไร้เชื้อเรื้อรังที่มีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยพบเร็วขึ้นในกลุ่มอายุน้อยและพบเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น (พานทิพย์ แสงประเสริฐ,๒๕๕๔)ปัจจุบันประชากรโลกรวมทั้งประเทศไทยที่ประสบอยู่ โดยคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.๒๕๖๘ จะประสบปัญหาโรคความดันโลหิตสูง ๑.๕ ล้านคน (จดหมายข่าว วช,๒๕๔๙)ซึ่งอัตราตายต่อประชากรแสนคน จากโรคความดันโลหิตสูงเท่ากับ ๓.๙ ส่วนอัตราป่วยในต่อแสนประชากรด้วยโรคความดันโลหิตสูงเท่ากับ ๘๖๐.๕๓ (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข,๒๕๕๑)อันตรายจากภาวะของโรคนี้คือ ผู้ป่วยอาจมีอาการของโรคเพียงเล็กน้อย เช่น มึนศรีษะท้ายทอย หรือไม่มีอาการเลยได้นานหลายปี จึงเป็นการยากในการตรวจสอบ จนกระทั่งปรากฎร่องรอยที่เป็นอันตรายต่อชีวิตหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่ออวัยวะสำคัญของร่างกาย และนำไปสู่โรคอันตรายอื่นอีก เช่นโรคของหลอดเลือดสมองโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต ซึ่งผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด(ปิยะมิตร ศรีธาราและคณะ,๒๕๕๑)เพราะฉะนั้นการตรวจพบโรคความดันโลหิตสูงตั้งแต่เริ่มแรกและได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง รวมทั้งการมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพจะสามารถควบคุมโรคและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ การปรับพฤติกรรมการบริโภคโดยลดอาหารเค็มและไขมันสูง การควบคุมความเครียด พักผ่อนให้เพียงพอ ลดการดื่มแอลกอฮอล์งดบุหรี่ เป็นการช่วยควบคุมระดับความดันโลหิตได้ นอกจากนี้การออกกำลังกายซึ่งเป็นกิจกรรมการออกแรงเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็น ข้อต่อส่วนต่างๆของร่างกายอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานพอจึงจะ เป็นการเสริมสร้างสุขภาพให้แข้งแรงยิ่งขึ้นหรือคงไว้ซึ่งสมรรถภาพของร่างกายและลดระดับความดันโลหิตได้(สุรเกียรติ อาชานุภาพ,๒๕๕๐) จากการสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลของประชาชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนหมู่ที่ 13ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕64 จำแนกตามปัญหาสุขภาพและการเจ็บป่วยพบว่าประชากรดังกล่าวที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 180 คนโดยส่วนใหญ่ประชากรป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงอัตราความชุกเทากับ ๕๒.๗๓ ต่อพันประชากร ซึ่งพบว่าสาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมเสี่ยงในการดำเนินชีวิต เช่น การไม่ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) เช่น แกงส้ม ปลาเค็ม การดื่มเหล้า สูบบุหรี่ เป็นต้น จากผลกระทบและสภาพปัญหาและสาเหตุดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565ขึ้นเพื่อให้ประชาชนมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหา ควบคุมระดับความดันโลหิตสูงให้คงที่ปกติ ไม่ส่งผลร้ายจนเกิดภาวะแทรกซ้อน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ตามเกณฑ์
  3. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่ม เสี่ยง ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มป่วย
  2. พบกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและกิจกรรมการตรวจหาเกลือในอาหารในกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย
  2. กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม
  3. อัตราการเกิดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงลดลงและผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์
  4. ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายร้อยละ 90
  5. กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่ม เสี่ยง ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มป่วย

วันที่ 5 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่ม เสี่ยง ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มป่วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) มีการจัดประชุมให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่ม เสี่ยง / กลุ่ม ป่วย จำนวน 100 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง การใช้ยาให้เหมาะสมกับโรค อาหารเพื่อสุขภาพแและอาหารบำบัดโรคในและ การออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่เหมาะสม

 

50 0

2. พบกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและกิจกรรมการตรวจหาเกลือในอาหารในกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กระชุมพบกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร  การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและกิจกรรมการตรวจหาเกลือในอาหารในกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) กลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรุ้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและกิจกรรมการตรวจหาเกลือในอาหาร จำนวน 50 คน             กลุ่มป่วยจำนวน 50 คน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรุ้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและกิจกรรมการตรวจหาเกลือในอาหาร จำนวน 50 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย มีความรุ้ที่ถูกต้องในเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ อาหาราบำบัดโรค               2. กลุ่มเสี่ยง/ กลุ่มป่วย เข้าร่วมกิจกรรมทดสอบเกลือในอาหาร

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 2.ประเมินผลจากแบบทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ตามเกณฑ์ร้อยละ ๕๐
0.00

 

3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ตามเกณฑ์ (3) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่ม เสี่ยง ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มป่วย (2) พบกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร  การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและกิจกรรมการตรวจหาเกลือในอาหารในกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3330-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด