กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา


“ กิจกรรมปันรัก ปันน้ำใจ ห่วงใยผู้พิการประจำปี 2565 ”

ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
กรรมการเเละเลขานุการศูนย์บริการผู้สูงอายุเเละผู้พิการฯ

ชื่อโครงการ กิจกรรมปันรัก ปันน้ำใจ ห่วงใยผู้พิการประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2501-3-03 เลขที่ข้อตกลง 09/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"กิจกรรมปันรัก ปันน้ำใจ ห่วงใยผู้พิการประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กิจกรรมปันรัก ปันน้ำใจ ห่วงใยผู้พิการประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " กิจกรรมปันรัก ปันน้ำใจ ห่วงใยผู้พิการประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2501-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

"คนพิการ"หมายถึงบุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ คนพิการบางคนมีโรคภัยไข้เจ็บมาบั่นทอนสุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคช่องปาก เป็นต้น ซึ่งโรคเหล่านี้อาจทำให้ส่งผลต่อสุขภาพของคนพิการเเละผู้ดูเเลคนพิการ เเละการปฏิบัติกิจวัตรที่สำคัญในการดำรงชีวิตต้องเปลี่ยนไป   ด้วยสภาพเศรษฐกิจสังคมในปัจจุบัน ก่อให้เกิดคสามห่างเหินของสมาชิดครอบครัวมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งครอบครัวที่มีผู้พิการอาศัยอยู่ด้วย รวมทั้งความรัก ความอบอุ่น การดูเเลเอาใจใส่ซึ่งกันเเละกันเริ่มขาดหาย คนพิการขาดการเลี้ยงดูเอาใจใส่ คนพิการถูกทอดทิ้ง คนวัยทำงานมุ่งเเต่จุะหาเลี้ยงชีพ จากสภาพปัญหาครอบครัวปัจจุบัน จึงก่อให้เกิดความตระหนักในการสร้างนวัตกรรมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขของบุคคลในครอบครัวที่มีคนพิการ ทั้งคู่สมรส คนพิการไม่ว่าจะเป็นฝ่ายสามีหรือภรรยา ผู้ดูเเลคนพิการให้เป็นครอบครัวเเห่งความรัก ครอบครัวเเห่งความสามัคคี คอบครัวคุณธรรม ครอบครัวเเห่งความรู้ เเละครอบครัวอยู่ดีมีสุข ซึ่งรวมคนพิการ ผู้ดูเเลคนพิการ คู่สมรสคนพิการ หรือบุคคลในครอบครัวผู้พิการเข้าไว้ด้วย   ศูนย์บริการผู้สูงอายุเเละผู้พิการตำบลลุโบะบือซา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูเเลผู้พิการให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี สุขภาพกายเเละสุขภาพจิตที่เเข็งเเรง สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีสุข มีกำลังใจในการดำเนินชีวิต จึงจัดกิจกรรมปันรัก ปันน้ำใจ ห่วงใยผู้พิการ เพื่อสร้างกำลังใจในการดำเนินชีวิตเเละยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการ ได้พัฒนาศักยภาพเเละคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น 2.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการได้รับความรู้ พัฒนาทักษะ ภูมิปัญญาของไทยในการดุเเลตนเองเเละครอบครัว 3.เพื่อสร้างความสัมพันะ์อันดี ระหว่างผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการเเละสังคมส่วนรวม 4.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลคนพิการ ได้มีการรวมกลุ่มเพื่อหารายได้เพิ่ม ได้ช่วยเหลือตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการ ได้พัฒนาศักยภาพเเละคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น 2.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการมี ความรู้ มีทักษะ ในการภูมิปัญญาของไทย ดูเเลตนเองเเละครอบครัว เพื่อให้สุขภาพดี 3.เกิดความสัมพันธ์อันดี ระหว่างผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการเเละสังคมส่วนรวม
    4.ผู้พิการ ผู้ดูเเลคนพิการ ได้มีการรวมกลุ่ม มีความสามารถในการหารายได้ช่วยเหลือตนเองมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทำให้สุขภาพจิตดี ร่างกายเเละจิตใจ เข้มเเข็งเพิ่มมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการ ได้พัฒนาศักยภาพเเละคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น 2.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการได้รับความรู้ พัฒนาทักษะ ภูมิปัญญาของไทยในการดุเเลตนเองเเละครอบครัว 3.เพื่อสร้างความสัมพันะ์อันดี ระหว่างผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการเเละสังคมส่วนรวม 4.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลคนพิการ ได้มีการรวมกลุ่มเพื่อหารายได้เพิ่ม ได้ช่วยเหลือตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
    ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการ ได้พัฒนาศักยภาพเเละคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น 2.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการได้รับความรู้ พัฒนาทักษะ ภูมิปัญญาของไทยในการดุเเลตนเองเเละครอบครัว 3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการเเละสังคมส่วนรวม 4.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลคนพิการ ได้มีการรวมกลุ่มเพื่อหารายได้เพิ่ม ได้ช่วยเหลือตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการ ได้พัฒนาศักยภาพเเละคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น 2.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการได้รับความรู้ พัฒนาทักษะ ภูมิปัญญาของไทยในการดุเเลตนเองเเละครอบครัว 3.เพื่อสร้างความสัมพันะ์อันดี ระหว่างผู้พิการ ผู้ดูเเลผู้พิการเเละสังคมส่วนรวม 4.เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ดูเเลคนพิการ ได้มีการรวมกลุ่มเพื่อหารายได้เพิ่ม ได้ช่วยเหลือตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    กิจกรรมปันรัก ปันน้ำใจ ห่วงใยผู้พิการประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 65-L2501-3-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กรรมการเเละเลขานุการศูนย์บริการผู้สูงอายุเเละผู้พิการฯ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด