โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ”
จังหวัดนนทบุรี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณมญ แก้วบุญมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านบางม่วง
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
ที่อยู่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัด นนทบุรี
รหัสโครงการ L245625651001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัดนนทบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนนทบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านบางม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนนทบุรี รหัสโครงการ L245625651001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านบางม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน แต่เมื่อแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา ทำให้ผู้คนหันมาสนใจแพทย์แผนตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ในรการดูแลสุขภาพแบบเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ ขาดการสืบทอด ทำให้ภูมิปัญญาไทยที่มีการสืบทอดมาแต่ช้านานถูกบดบังและถูกกลืนหายไปในที่สุด
กลุ่มงานแพทย์แผนไทยได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงอยากปลูกฝังภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทยแก่เยาวชน เพื่อให้เด็กรุ่นใหม่ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้าน สามารถประยุกต์เอาสมุนไพรที่มีอยู่รอบตัวมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวเบื้องต้น
ดังนั้นเพื่อเป็นการเพิ่มการเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลบางใหญ่ จึงจัดทำโครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อขอการสนับสนุนจากกองทุนเทศบาลตำบลบ้านบางม่วง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักสมุนไพรพื้นบ้าน ได้สังเกตุ สัมผัส ได้รู้สรรพคุณของสมุนไพรและการนำไปใช้ประโยชน์
- เพื่อให้นักเรียนสามารถนำประโยชน์จากสมุนไพรมาดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวในเบื้องต้นได้
- นักเรียนสามารถอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและคุณค่าของความเป็นไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 เยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียน เยาวชนเกิดความรู้รักษ์สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสร้างความรักความผูกพันในครอบครัวและสังคมไทยต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักสมุนไพรพื้นบ้าน ได้สังเกตุ สัมผัส ได้รู้สรรพคุณของสมุนไพรและการนำไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถบอกชื่อสมุไพร สรรพคุณ ปละวิธีนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้อง
0.00
2
เพื่อให้นักเรียนสามารถนำประโยชน์จากสมุนไพรมาดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวในเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ในโรงเรียน ครอบครัว และมีการใช้ประโยชน์จากสมุนไรในการดูแลสุขภาพตัวเองเพิ่มมากขึ้น
0.00
3
นักเรียนสามารถอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและคุณค่าของความเป็นไทย
ตัวชี้วัด : นักเรียนเกิดการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย และมีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและคุณค่าของความเป็นไทย
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักสมุนไพรพื้นบ้าน ได้สังเกตุ สัมผัส ได้รู้สรรพคุณของสมุนไพรและการนำไปใช้ประโยชน์ (2) เพื่อให้นักเรียนสามารถนำประโยชน์จากสมุนไพรมาดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวในเบื้องต้นได้ (3) นักเรียนสามารถอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและคุณค่าของความเป็นไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 เยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัด นนทบุรี
รหัสโครงการ L245625651001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวณมญ แก้วบุญมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ”
จังหวัดนนทบุรี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณมญ แก้วบุญมา
กันยายน 2565
ที่อยู่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัด นนทบุรี
รหัสโครงการ L245625651001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัดนนทบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนนทบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านบางม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนนทบุรี รหัสโครงการ L245625651001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านบางม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน แต่เมื่อแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา ทำให้ผู้คนหันมาสนใจแพทย์แผนตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ในรการดูแลสุขภาพแบบเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ ขาดการสืบทอด ทำให้ภูมิปัญญาไทยที่มีการสืบทอดมาแต่ช้านานถูกบดบังและถูกกลืนหายไปในที่สุด
กลุ่มงานแพทย์แผนไทยได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงอยากปลูกฝังภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทยแก่เยาวชน เพื่อให้เด็กรุ่นใหม่ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้าน สามารถประยุกต์เอาสมุนไพรที่มีอยู่รอบตัวมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวเบื้องต้น
ดังนั้นเพื่อเป็นการเพิ่มการเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลบางใหญ่ จึงจัดทำโครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อขอการสนับสนุนจากกองทุนเทศบาลตำบลบ้านบางม่วง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักสมุนไพรพื้นบ้าน ได้สังเกตุ สัมผัส ได้รู้สรรพคุณของสมุนไพรและการนำไปใช้ประโยชน์
- เพื่อให้นักเรียนสามารถนำประโยชน์จากสมุนไพรมาดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวในเบื้องต้นได้
- นักเรียนสามารถอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและคุณค่าของความเป็นไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 เยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียน เยาวชนเกิดความรู้รักษ์สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสร้างความรักความผูกพันในครอบครัวและสังคมไทยต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักสมุนไพรพื้นบ้าน ได้สังเกตุ สัมผัส ได้รู้สรรพคุณของสมุนไพรและการนำไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถบอกชื่อสมุไพร สรรพคุณ ปละวิธีนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้อง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้นักเรียนสามารถนำประโยชน์จากสมุนไพรมาดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวในเบื้องต้นได้ ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ในโรงเรียน ครอบครัว และมีการใช้ประโยชน์จากสมุนไรในการดูแลสุขภาพตัวเองเพิ่มมากขึ้น |
0.00 |
|
||
3 | นักเรียนสามารถอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและคุณค่าของความเป็นไทย ตัวชี้วัด : นักเรียนเกิดการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย และมีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและคุณค่าของความเป็นไทย |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักสมุนไพรพื้นบ้าน ได้สังเกตุ สัมผัส ได้รู้สรรพคุณของสมุนไพรและการนำไปใช้ประโยชน์ (2) เพื่อให้นักเรียนสามารถนำประโยชน์จากสมุนไพรมาดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวในเบื้องต้นได้ (3) นักเรียนสามารถอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและคุณค่าของความเป็นไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 เยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยาวชนกับการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัด นนทบุรี
รหัสโครงการ L245625651001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวณมญ แก้วบุญมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......