กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในเด็ก 3-12 ปี ”

ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซีย๊ะ แวหะยี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในเด็ก 3-12 ปี

ที่อยู่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4121-01-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในเด็ก 3-12 ปี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในเด็ก 3-12 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในเด็ก 3-12 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4121-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,395.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญสำหรับการ ติดต่อสื่อสารของผู้คนใน สังคม ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของคนเปลี่ยนไป ในขณะที่ระบบบริการสุขภาพ และระบบพัฒนาคนยังไม่สามารถปรับตัว รองรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้การเกิดโรคฟัน ในทุกกลุ่มวัยเพิ่มขึ้น กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้เปิดเผยผล สำรวจสุขภาพช่องปาก ในปี 2565 พบว่า เด็กไทยโดยเฉลี่ยร้อยละ 50 เป็นโรคฟันผุสูงสุดในเขตภาคใต้ร้อยละ 65 โดยเฉพาะใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ในปี 2565กระทรวงสาธารณสุขได้ รายงาน พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนได้ เด็กและผู้สูงอายุ เผชิญปัญหาโรคฟันสูงเป็น อันดับ 1 ของประเทศ จากกการตรวจ สุขภาพช่องปากเด็กอายุ 3-12 ปี (ข้อมูลในโปรแกรม JHCIS ตั้งแต่ วันที่ 1 ต.ค. 64- มี.ค. 65 ) ในโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง จำนวน 131 คน พบว่า เด็กอายุ 3 -12 ปี มีฟันผุ ร้อยละ 74.16 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กองทันต สาธารณสุขกำหนด คือมีฟันถาวรไม่เกินร้อยละ 20

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว ภายใต้ข้อจำกัดด้านบุคลากรทันต สุขภาพ 1 คน ต้องดูแลประชากรทั้งตำบล จึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในเด็ก 3 - 12 ปี ใน โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลบ้านกระป๋อง อำเภอธารโต จังหวัดยะลา เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองเพิ่มมากขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋องจึงได้จัดทำ โครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ลดการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 3-12 ปี
  2. 2. เพื่อให้เด็กในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจมนการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 131
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.ร้อยละ80 กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.ร้อยละ50 กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการทันตกรรมในรพ.สต.บ้านกระป๋อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุปผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในเด็ก ๓ - ๑๒ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพท่านอบ้านกระป๋องบประมาณ ๒rve ฟันและอวัยวะในช่องปาก เป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญสำหรับการติดต่อ สื่อสารของผู้คนในสังคม ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของคนคนเปลี่ยนไป ในขระที่ระบบการพัฒนาคนยังไม่ สามารถปรับตัวรองรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้การเกิดโรคพันธุ์ในทุกกลุ่มวัยเพิ่มขึ้น กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ให้เปิดเผยผลสำรวจสุขภาพช่องปากในปี ๒๕๐๕ พบว่า เด็กไทยโดยเฉลี่ยนร้อยละ ๕๐ เป็นโรคฟันผุสูงสุดในเขตภาคได้ร้อยละ ๖๕ โดยเฉพาะใน จังหวัดชายแดนได้ ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานี และ นราธิวาส ในปี ๒๕๖๑๕ กระทรวงสาธารณะสุขได้รายงาน พื้นที่ ๔ จังหวัดชายแดนได้ เด็ดและผู้สูงอายุ เผชิญปัญหาโรคฟันสูงเป็น อับดับ 1 ของประเทศ จากการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กอายุ ๒๑ ปี (รีมูลใน โปรแกรม JHCIS ตั้งแต่วันที่ ๒ ส.ค๖๑ มี.ค. ๒๕) ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง จำนว ๑๓๑ คน พบว่า เด็กอายุ -- ๑๒ปี มีฟันผุ ร้อยละ ๗๔. ผมซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กองทันตสาธารณสุขมีพันธุ์ไม่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว ภายใต้ข้อจำกัดด้าน บุคลากรทันตสุขภาพ ๑ คน ต้องดูแลประชากรทั้งตำบล จึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมทันตสุขภาพและ ตกรรมป้องกันในเด็ก ๓ ๑๒ ปีในโรงพยาบาลส่งเสริมศพบลบ้านกระป๋อง อำเภอราวใด จังหวัดยะลา เพื่ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองเพิ่มมาก ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋องจึงได้จัดทำโครงการดังกล่าว วัตถุประสงค์ ๑.๓ เพื่อให้ลดการเกิดโรคฟันผุในเด็ก ๓ ๑๒ปี ตัวชี้วัด ร้อยละ ๕๐ เป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ : .. การรับบริการทันตกรรมใน รพ.สต
๓.๒ เพื่อให้เด็กในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ลดการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 3-12 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้เด็กในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจมนการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 131 131
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 131 131
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ลดการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 3-12 ปี (2) 2. เพื่อให้เด็กในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจมนการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันในเด็ก 3-12 ปี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4121-01-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาซีย๊ะ แวหะยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด